Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การบริหารการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 6 การบริหารการพยาบาล
การบริหารหอผู้ป่วย
อํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารงานหอผู้ป่วย
๑. เป็นผู้บริหาร ดําเนินการงานด้านการพยาบาลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโรงพยาบาลและฝ่ายการพยาบาล
๒. วางแผนการปฏิบัติงาน ควบคุม กํากับวินิจฉัยสั่งการและตรวจสอบ
๓. เป็นผู้นิเทศ ส่งเสริมความสามารถและการปฏิบัติการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น
๔. เป็นผู้ประสานการรักษาพยาบาล ปรึกษากับแพทย์ผู้รักษา ประชุมปรึกษาเพื่อให้การ
รักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพ
๕. เป็นผู้สนับสนุนประสิทธิภาพในการรักษาพยาบาล ติดตามประเมินผล
๖. เป็นผู้พัฒนา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงงาน
๗. เป็นผู้รับผิดชอบทุกอย่างในหน่วยงาน
การจัดหอผู้ป่วย
หลักการจัดหอผู้ป่วย
ความเป็นสัดส่วน (Privacy)จัดบริเวณและสิ่งแวดล้อมรอบเตียงให้มีพื้นที่ในการให้การพยาบาลได้
ความปลอดภัย (safety) ต้องป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ มีไม้กั้นเตียง พื้นห้องน้ําไม่ลื่น มีราวจับแสงสว่างเพียงพอ
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ (Infection control) ให้ถูกต้องตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ควบคุมเสียง (noise control) ไม่ให้มีเสียงดังรบกวนการพักผ่อนของผู้ป่วยหัวหน้าหอผู้ป่วย
การจัดอัตรากําลังทางการพยาบาล (Nursing Staffing)
การวางแผนและจัดอัตรากําลังคน เพื่อเตรียมคนให้เหมาะสมกับงานและเวลา (Contributing the right people for the right job at the right time)
การจัดบุคลากรเกี่ยวข้องกับเรื่องต่างๆ
การพิจารณาประเภทและจํานวนของการพยาบาล
การตัดสินเลือกประเภทของบุคลากรที่จะสามารถให้การพยาบาลตามที่ต้องการ
การคํานวณหาจํานวนบุคลากรแต่ละประเภทการสรรหาบุคลากร
การคัดเลือกบุคลากร
การจัดเวลาการปฏิบัติงานตามที่บุคลากรต้องการ
การมอบหมายงานและความรับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วย
กระบวนการจัดอัตรากําลังทางการพยาบาล (Staffing Process)
การวางแผนอัตรากําลัง (Staffing planning)
การวางแผนความต้องการการพยาบาล
วางแผนเพื่อให้ได้บุคลากรพยาบาลตามที่ต้องการ
การวางแผนการใช้บุคลากรทางการพยาบาล เป็นการวางแผนเพื่อจะใช้คนที่มีอยู่แล้วให้ได้ประโยชน์สูงสุด
ขั้นตอนในการจัดอัตรากําลัง
คาดคะเนความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย
จํานวนวันที่ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลในโรงพยาบาลหรือจํานวนวันนอน (Patient Days)
จํานวนรวมของผู้ป่วยที่นอนพักรักษาอยู่ในโรงพยาบาลที่ต้องดูแลใน ๒๔ ชั่วโมง นับจากเที่ยงคืน ถึงเที่ยงคืนของอีกวันหนึ่ง มีจํานวนนับเป็นคนต่อวัน
จํานวนเฉลี่ยผู้ป่วยต่อวัน (ADC : Average daily census)
จํานวนผู้ป่วยในแต่ละวันโดยเฉลี่ย ซึ่งมีค่าเท่ากับจํานวนวันผู้ป่วยนอนในโรงพยาบาล
(Patient Days) รวมกันในช่วงเวลาหนึ่ง หารด้วยจํานวนวันในช่วงเวลานั้น
การแบ่งประเภทผู้ป่วย (Patient ClassificationSystems)
วิธีจัดประเภทผู้ป่วย
การประเมินตามแบบอย่าง (Prototype Evaluation Method)
1 more item...
การประเมินตามปัจจัย (Factor Evaluation Method) เป็นการแบ่งประเภท
การประเมินตามความก้าวหน้าของการดูแลผู้ป่วย (Progressive Patient Care Evaluation
ค่าเฉลี่ยเวลาการพยาบาลที่ต้องการของผู้ป่วยแต่ละประเภทหรือดัชนีปริมาณเวลา ( Average
time Required or Workload index)
จํานวนชั่วโมงการพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วยแต่ละประเภท ซึ่งประกอบด้วย
ชั่วโมงการพยาบาลโดยตรงกับชั่วโมงการพยาบาลโดยอ้อม
ตัวอย่างการคํานวณหาอัตรากําลัง
1 more item...
การจัดตารางการปฏิบัติงาน (Scheduling)
การจัดแบบรวมการ (Centralized Scheduling)จัดโดยผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาลฝ่ายบุคลากรหรือผู้ตรวจการในสํานักงานบริการพยาบาล
การจัดแบบแยกการ (Decentralized Scheduling) วิธีนี้ส่วนใหญ่จะเป็นการจัดโดยหัวหน้าหอผู้ป่วย
. การจัดตารางเวลาปฏิบัติงานแบบการหมุนเวียน (Rotating shift scheduling) เป็นการจัดตารางการปฏิบัติงานแบบเป็นรอบเวร เวรละ ๘ ชั่วโมง เวรละ ๑๐ ชั่วโมง เวรละ ๑๒ ชั่วโมง
การจัดตารางเวลาปฏิบัติงานแบบรอบ (Cyclical scheduling) เป็นการจัดตารางการปฏิบัติงานในแต่ละวัน ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น ๒ สัปดาห์
การจัดตารางเวลาปฏิบัติงานแบบคงที่ (Fix shift scheduling)เป็นการจัดตารางการ
ปฏิบัติงานโดยไม่มีการหมุนเวียนช่วงเวลาการทํางาน
การกระจายอัตรากําลัง (Staffing allocation)
การมอบหมายงาน (Assignment )
๑. การมอบหมายงานเฉพาะหน้าที่ (Functional Method)
๒. การมอบหมายงานเป็นทีม (Tem Method) เป็นการมอบหมายงานให้บุคลากรทําเป็นกลุ่มเล็ก
๓. การมอบหมายงานเฉพาะรายผู้ป่วย (Case Method) เป็นการมอบหมายให้พยาบาลดูแลให้การพยาบาล
๔. การมอบหมายงานแบบพยาบาลเจ้าของไข้ (Primary Methods)
๕. การมอบหมายงานแบบผสมผสาน (Multiple Method) เป็นการมอบหมายงานที่ไม่ได้ใช้วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะ
๖. การมอบหมายแบบผู้จัดการกรณีหรือผู้จัดการการดูแลผู้ป่วย (Case management)เป็นรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยใหม่ล่าสุดที่มีเป้าหมายให้การดูแลเป็นไปตามความต้องการของผู้ป่วย
ระเบียบการมอบหมายงาน
๒. ตรวจสอบการมอบหมายงานทุกวันเพื่อปรับเปลี่ยนกรณีที่มีปัญหา
๓. กําหนดเวลาให้ชัดเจนเช่นเวลาพัก
๔. ต้องชี้แจงการมอบหมายงานให้สมาชิกทราบก่อนปฏิบัติงาน
ระยะเวลาในการมอบหมายงาน
ควรอยู่ในช่วง ๔ – ๗วัน
การนิเทศงานการพยาบาล
การนิเทศเป็นการทํางานร่วมกัน เพื่อให้งานประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ มีผู้นิเทศ
เป็นผู้ช่วยเหลือให้ความรู้ แนะนํา แนะแนว กระตุ้น
ลักษณะการนิเทศการพยาบาล
๒. ลักษณะการนิเทศที่เน้นจุดประสงค์การนิเทศ
การนิเทศที่มุ่งผลผลิต (Production - centered)
การนิเทศที่มุ่งตัวบุคคล (person - centered) ผู้นิเทศจะเน้นความเป็นคนมนุษยสัมพันธ์ การทํางานร่วมกันอย่างมั่นใจ
๑. ลักษณะการนิเทศที่เน้นพฤติกรรมผู้นิเทศ
การนิเทศแบบอัตตาธิปไตย (traditional autocratic form)
การนิเทศแบบประชาธิปไตย (democratic form)
วิธีการนิเทศ
การนิเทศใกล้ชิด (close supervision)
การนิเทศอิสระ (general supervision) เป็นการนิเทศที่ใช้วิธีสังเกตอยู่ห่าง
องค์ประกอบของผู้นิเทศ
ความสามารถด้านเทคนิค หมายถึง ความสามารถในการใช้ความรู้ต่างๆ
ความสามารถด้านวิชาการ ผู้นิเทศการพยาบาลต้องมีความรู้ความเข้าใจผิดหลักการและทฤษฎี
ความสามารถด้านการสอน แนะนําและให้คําปรึกษา
ความสามารถด้านมนุษย์
ความสามารถด้านบริหารงาน
บทบาทของผู้นิเทศในการปฏิบัติการนิเทศ
๑.เป็นตัวกลางของการติดต่อสื่อสาร
๒.เป็นผู้สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน
๓.เป็นผู้ให้คําแนะนําปรึกษา
๔.เป็นผู้ประสานนโยบาย
๕.เป็นแหล่งความรู้ทางการพยาบาล
กิจกรรมการนิเทศทางการพยาบาล
นิเทศการปฏิบัติการพยาบาล
นิเทศบุคลากรทางการพยาบาล
นิเทศสภาพแวดล้อมทางการบริหาร
ระบบการดูแลผู้ป่วย
ระบบการดูแลเป็นรายบุคคล (case method or total patient care) มีหลักการดูแลคือพยาบาล ๑คนจะให้การดูแลทุกอย่างสําหรับผู้ป่วยรายนั้น
ระบบการทํางานเป็นหน้าที่ (functional nursing) การมอบหมายงานจะเน้นที่หน้าที่และกิจกรรมเป็นสําคัญโดยบุคลากรแต่ละคนจะได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบหน้าที่๑-๒อย่างเช่นพยาบาลวิชาชีพ
ระบบการพยาบาลเป็นทีม (team nursing) ระบบนี้ต้องการสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ป่วยและบุคลากรปรับปรุงคุณภาพการบริหารพยาบาลให้ดีขึ้นโดยนําพยาบาลวิชาชีพที่มีจํานวนจํากัดทํางานร่วมกับ
ระบบการพยาบาลแบบเจ้าของไข้ (primary nursing) โดยที่พยาบาลวิชาชีพ ๑คนจะทําหน้าที่เป็นตัวจักรสําคัญในการดูแลผู้ป่วยตลอดระยะเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาลตั้งแต่แรกรับเข้าไว้ในโรงพยาบาล
๕.ระบบการจัดการด้านผู้ป่วย (Case Management) เป็นระบบที่มุ่งเน้นการดูแลที่มีคุณภาพสูงสุดและค่าใช้จ่ายที่ประหยัดคุ้มค่าซึ่งสอดคล้องกับคํากล่าวของ Florence Nightingale