Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
-
Puerperal Infection
-
-
ความรุนแรง
-
ภูมิคุ้นกันหลังคลอด,ไม่ได้พักผ่อน
-
สาเหตุ
โดยตรง
เชื้อโรคในร่างายเช่น Steptococcus,Staphylococcus,E.coli,Protes nesissereia และ Klebsiella
ส่งเสริม
ภาวะทุพโภชนการ,การตรวจทางช่องคลอดบ่อยครั้ง,การตรวจเสียงหัวใจทารกผ่านทางช่อคลอด,ระยะเวลาการเจ็บครรภ์,การช่วยคลอด เป็นต้น
ประเภทของการติดเชื้อ
การติดเชื้อเฉพาะที่
-
การติดเชื้อช่องคลอด
ติดเชื้อโดยตรงหรือแพร่กระจายจากแผลฝีเย็บ,เยื่อบุช่องคลอดบวม แดง,เนื้อเน่าหลุดลอก และอาจเกิดหลอดนำเหลืองอักเสบและแพร่กระจายได้
การติดเชื้อปากมดลูก
ปัสสาวะลำบาก,ระบายหนองได้ดี จะไม่มีอาการ,ไข้ต่ำกว่า 38 C ,ถ้ามีหนองคั่งอยู่ในฝีเย็บหรือช่องคลอดอาจมีไข้สูงและหนาวสั่น
การรักษา ดูแผลเหมือนศัลยกรรมทั่วไป,เปิดแผลให้หนองระบายได้ดี,Hot sitz bath และอบไฟ,ดูแลให้ได้ยาปฏิชีวนะและยาแก้ปวด
Metritis
อาการเริ่มต้นใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด,ไข้สูงแบบฟันเลื่อย 38.5 - 40 C ,ชีพจรเร็ว สัมพันธ์กับอุณหภูมิ,ปวดท้องน้อยบริเวณมดลูก
-
เชื้อ Beta-hemolytic streptococcus นำคาวปลาไม่มีกลิ่นและปริมาณน้อย,ไข้เกิดใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด,มดลูกกดเจ็บ,มดลูกเข้าอู่ช้าหรือบางรายไม่มีอาการแสดง
การรักษา ถ้ามีเศษรกค้างและมีเนื้อตายเกิดขึ้นและเกิดเป็นฝี หนองและยาเข้าไม่ถึง การขูดมดลูกเป็นการรักษาที่ดี,การได้รับยาปฏิชัวนะ และการรักษาตามอาการ เมื่อไ้ข้ลง อาการปวดทุเลาลง รักษา 1 - 2 วันก่อน ถึงจะไปขูดมดลูก
-
-
-
การป้องกัน
-
ระยะคลอด
ถูกเทคนิค aseptic technique,sterile technique
-
-
-
-
-