Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ (Premature rupture of membrane :PROM)
ภาวะที่ถุง น้ำคร่ำรั่วหรือแตกเองก่อนที่จะเข้าสู่ระยะการเจ็บครรภ์คลอดที่แท้จริง การรั่วหรือการแตกของถุงน้ำคร่ำอาจ แบ่งออกเป็นแตกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์(preterm PROM หรือ PPROM) หรือแตกเมื่ออายุ มากกว่า 37 สัปดาห์ (term PROM)
สาเหตุ
การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ(chorioamnionitis)
มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
ครรภ์แฝด (twins) และครรภ์แฝดน้ำ (hydramnios)
การทำหัตถการเพื่อการวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด
เช่น การเจาะถุงน้ำคร่ำ
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
รกลอดตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta)
หรือรกเกาะต่ำ (placenta previa)
ปากมดลูกปิดไม่สนิท(cervical incompetence)
หรือปากมดลูกสั้น
พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีประวัติน้ำไหลออกจากช่องคลอดก่อนเข้าสู่ระยะคลอด
การตรวจร่างกาย
Speculum เห็นน้ำคร่ำไหลจากปากมดลูก
speculum examination พบมีน้ำขัง
อยู่ที่บริเวณแอ่งหลังของช่องคลอด
เมื่อกดบริเวณยอดมดลูกลงมาพร้อมกับ
ให้ผู้คลอดเบ่ง หรือไอ(cough test) จะเห็น
น้ำไหลออก จากปากมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nitrazine paper test
Fern test
Nile’ blue test
อาการและอาการแสดง
น้ำไหลออกทางช่องคลอด
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
กรณีมีการติดเชื้อในโพรงมดลูกร่วม
น้ำคร่ำสีขุ่น มีกลิ่นเหม็น
CBC พบ เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นผิดปกติ
กดเจ็บที่มดลูก
อุลตราซาวนด์ พบน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ หรือลดลง
FHS น้อยกว่า 120 ครั้ง/นาที
อาจเกิดระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
แนวทางการรักษา
ในรายที่มีการติดเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์และคลอด
ผ่าตัดนำเด็กออกทางหน้าท้อง (cesarean section)
ในรายที่ไม่มีการติดเชื้อ
GA < 37 wks.
นอนพัก
เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ดูการทำหน้าที่ของปอด ของทารกในครรภ
Obs. V/S q 4 hrs.
No PV
GA 34 wks. สงสัย Asphysia --> shake test
น้ำคร่ำหยุดไหล --> กลับบ้านได้
GA > 37 wks.
ให้คลอดภายใน 24 ชั่วโมง
การให้ corticosteroids
dexamethasone
GA 30-32 wks.
เร่งพัฒนาการ ของปอดทารก
ลด Asphysia และ RDS
ผลกระทบ
ด้านมารดา
chorioamnionitis
placenta abruption
preterm labor
ระยะที่ 2 การคลอด ยาวนาน
C/S เพิ่มสูงขึ้น
ด้านทารก
ทารกเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
preterm
fetal death
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจน
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกตายในครรภ์
ความผิดปกติโดยกeเนิด
การพยาบาล
ระยะเฝ้าคลอด
สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
งดการ PV
Bed rest เพราะจะเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก หรือในกรณีที่ส่วนนำยังไม่สู่ช่องเชิงกราน อาจทำให้เกิดสายสะดือพลัดต่ำได้
Observe FHS
ใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกต จำนวน สี กลิ่นของน้ำคร่ำ
ดูแลการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์หลังการขับถ่าย และการเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 4 ชม.
ให้ dexamethasone ตามแผนการรักษา
ระยะคลอด
ป้องกันการติดเชื้อ
งดการ PV
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาเร่งคลอดตามแผนการรักษา
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด หากการคลอดไม่ก้าวหน้า และทารกมีภาวะ Fetal distress ควรรายงานแพทย์เพื่อเตรียมผ่าตัดคลอด
ประคับประคองด้านจิตใจหากพบว่าทารกมีการติดเชื้อ หรือคลอดก่อนกำหนด หรือมีความผิดปกติอื่นๆ
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ประคบประคองด้านจิตใจ
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Fetal Growth Restriction or Intrauterine growth restriction)
Symmetrical IUGR
มีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้าในทกุอวัยวะ
ความผิดปกติมักเกิดตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ของการตั้งครรภ์
Asymmetrical IUGR
มีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อย
มักเกิดในช่วงระยะท้ายของการตั้งครรภ์
ภาวะ placental insufficiency จากภาวะความดันโลหิตสูง เป็นต้น
สาเหตุ
สาเหตุจากมารดา
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์
การใช้สารเสพติดต่างๆ
น้ำหนักที่ขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
ภาวะโภชนาการ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์
preeclampsia
chronic vascular disease
heart disease
สาเหตุจากตัวทารก
multiple fetuses
chromosome abnormalities
Trisomy13, 18
ทารกมีการติดเชื้อในครรภ์
ทารกครรภ์แฝด
สาเหตุจากรก
poor placental perfusion
placental disorder
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อทารก
ภาวะ hypoglycemia
hypocalcemia
polycythemia
hyperbilirubinemia
meconium aspiration syndrome
infection
brain and behavioral development
preterm birth
fetal distress (25-50%)
fetal death
ผลกระทบระยะยาว
เช่น delay development of cognition
โรคต่างๆ
เช่น ภาวะอ้วน
โรคเบาหวานชนิดที่ 2
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง
ผลต่อมารดา
เพิ่มโอกาสในการผ่าตัดคลอดบุตรมากขึ้น
ผลกระทบด้านจิตใจ
ภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การวัด fundal height ระหว่าง GA 24-38 weeks
การตรวจพิเศษ
Ultrasound
วัด AC ได้ค่าน้อยกว่า -/2SD
ของค่า AC ที่อายุครรภ์นั้นๆ
การตรวจหา Fetal structural anomalies
การวัดปริมาณน้ำคร่ำ (Amniotic fluid volume)
ภาวะ IUGR มักพบเรื่อง oligohydramnios
การวินิจฉัยหลังคลอด
โดยการเทียบน้ำหนักคลอดกับ
ค่ามาตรฐานในแต่ละอายุครรภ์
แนวทางการดูแลรักษา
Screening for risk factors สตรีตั้งครรภ์ทุกราย
การซักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
ควรมีการตรวจวัด fundal height (FH)
ทุกครั้งที่มาทำการฝากครรภ์
ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
ultrasonography เพื่อประเมินอัตรา
การเจริญเติบโตของทารก
การดูปริมาณน้ำคร่ำ
การ surveillance เช่น NST หรือ BPP
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
(Postterm pregnancy)
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน) หรือมากกว่า
โดยเริ่มนับจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย (Last menstrual period : LMP)
ปัจจัยที่มีผล
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ BMI ≥ 25 kg/m2
ครรภ์แรกพบได้มากกว่าครรภ์หลัง
มีประวัติเคยตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
อายุต่ำกว่า 25ปี
มีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
preeclampsia
เลือดมาเลี้ยงที่มดลูกและรกมักไม่เพียงพอ
ผลกระทบต่อทารก
Morbidity and Mortality
ทารกตัวโตกว่าปกติ (Macrosomia)
ขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ปัญหาการสำลักขี้เทา
Postmaturity syndrome
ผิวหนังแห้งแตก เหี่ยวย่น และหลุดลอก เนื่องจากสูญเสียไขมันใต้ผิวหนัง
มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว
รูปร่างผอม มีลักษณะขาดสารอาหาร
แต่ตื่นตัว (alert)
หน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป และเล็บยาว
รกเสื่อมสภาพ (Placental dysfunction)
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน (Fetal distress)
Prolonged deceleration
Late deceleration
น้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
การดูแลรักษา
ตรวจติดตามสุขภาพทารก
ในครรภ์ก่อนคลอด
Non stress test (NST)
Biophysical profile (BPP) หรือ Modified BPP
Contraction stress test (CST)
การวัดปริมาณน้ำคร่ำด้วยการ
ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
การชักนำการคลอด
ปัจจัยที่ส่งผลให้การชักนำคลอดสำเร็จ
ความพร้อมของปากมดลูก (Cervical ripening) โดยใช้ Bishop score
ระดับของส่วนน้า (Station of vertex)
วิธีการท้าให้ปากมดลูกพร้อมต่อการชักนำคลอด
การเซาะแยกถุงน้ำคร่ำ (Sweeping or stripping of the membrane)
การใช้ยา Prostaglandin
❖Prostaglandin E2 : PGE2
❖Prostaglandin E1 : PGE1