Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้มีภาวะซึมเศร้า, กิจกรรมการพยาบาล, การประเมินภาวะซึมเศร้า…
-
-
- การประเมินภาวะซึมเศร้า พยาบาลควรประเมินผู้ป่วย ดังนี้
1.1 ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้าตั้งแต่ซึมเศร้าระดับอ่อนไปจนถึงระดับรุนแรงโดยเฉพาะพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการท่าร้ายตนเอง
-
-
-
-
-
-
1.8 ประเมินความพร้อมในด้านแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย เมื่อต้องเผชิญกับปัญหาของชีวิต หรือเมื่อมีภาวะซึมเศร้า
ได้แก่
- ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน (Mild Depression, Blue Mood) คือภาวะของอารมณ์ที่ไม่สดชื่นหม่นหมอง บุคคลทั่วไปมักประสบกับภาวะเช่นนี้ได้เป็นครั้งคราว
- ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง (Moderate Depression, Neurotic Depression) คือภาวะของอารมณ์ซึมเศร้าที่รุนแรงกว่าในระดับอ่อน จนถึงขั้นกระทบกระเทือนต่อการปฏิบัติภารกิจประจ่าวัน แต่สามารถด่าเนินชีวิตได้อย่างปกติ
- ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง (Severe Depression, Psychotic Depression) คือภาวะของอารมณ์ซึมเศร้าที่รุนแรงอย่างมาก มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยทั่วๆ ไปอย่างเห็นได้ชัดเจน ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ประจ่าวันได้ มักถอยหนีจากโลกของความเป็นจริง อาจมีความคิดท่าร้ายตนเองหรือมีอาการประสาทหลอน หลงผิดไ
ได้แก่
- แนวคิดด้านกลไกของจิตใจ อธิบายว่าผู้ที่มีพฤติกรรมซึมเศร้า มีสาเหตุสำคัญมาจากความเจ็บปวดที่เกิดจากการสูญเสีย (Loss) ในสิ่งที่มีความหมายต่อตนเอง เช่น การตายของบุคคลอันเป็นที่รักหรือการสูญเสียเกียรติยศ ชื่อเสียง ทรัพย์สมบัติ เป็นต้น และการสูญเสียที่เกิดจากการคิดปรุงแต่งขึ้นเองอย่างเกินความเป็นจริง เช่น การคิดว่าตนได้สูญเสียบทบาทหน้าที่ ที่เคยเป็น รู้สึกว่าตนไร้ค่า ไร้ความหมายอย่างมากมาย หรือการที่บุคคลสูญเสียอวัยวะบางส่วนไป ก็กลับคิดไปว่าตนเองหมดสมรรถภาพไปทั้งหมด เป็นต้น
- แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพทางชีวเคมีในร่างกาย จากการศึกษาทางชีวเคมี พบว่า ผู้ที่มีพฤติกรรมซึมเศร้าเกิดจากการลดน้อยลงของสารจ่าพวกไบโอจีนิก อะมีนส์ (Biogenic Amines) ในระบบ
ประสาทส่วนกลาง ซึ่งคุณสมบัติของสารกลุ่มนี้ท่าหน้าที่กระตุ้นสมองส่วนที่ท่าให้มนุษย์ตื่นตัว เมื่อสารกลุ่มนี้ลดลง บุคคลจะหดหู่ ซึมเศร้า
-
-
- การวินิจฉัยทางการพยาบาล จะมุ่งเน้นการลดภาวะซึมเศร้าและปูองกันการท่าร้ายตนเองเป็นสำคัญ โดยอาจกำหนดเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว
-