Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
การอุดกั้นระบบทางเดินหายใจ
Asthma
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลม :arrow_forward:หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้/สิ่งแวดล้อม>คนปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
สารก่อภูมิแพ้
ภายในอาคาร
ภายนอกอาคาร
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ
Pathophysiology
Antigen
chemical mediator release
bronchospasm
Inflammatory cell activation
Increase
edema
mucus product
epithelial damage
Increase airway resistance
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย
อาจไม่พบความผิดปกติขณะไม่มีอาการ
ขณะมีอาการจะพบอัตราการหายใจ :arrow_up: หายใจลำบาก หายใจออกยาวกว่าปกติ/หอบได้ยินสียงหวีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด ก่อน :heavy_plus_sign:หลังให้ยาขยายหลอดลม
ถ้า FEV1 :arrow_up: 12% :heavy_plus_sign:> 200 มล :arrow_forward: Reversible airway obstruction
การวัดค่าความผันผวนของ PEF ในแต่ละช่วงเวลา ประมาณ 1-2 สัปดาห์
ถ้า>ร้อยละ 10 โดยไม่ได้ใช้ยา / >ร้อยละ 20 เมื่อใช้ยา :arrow_forward:โรคหืด
เป้าหมายของการรักษา
สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
How to achieve Goal of Asthma treatment
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
การแนะนำวิธีหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ก่อให้เกิดอาการหอบหืดอย่างเป็นรูปธรรม
การประเมินระดับความรุนแรงของโรคหืด และประเมินผลการควบคุมโรคหืด
การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
การดูแลรักษาในขณะมีอาการหอบหืดกำเริบเฉียบพลัน (asthma exacerbation)
การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหืดในกรณีพิเศษ
Asthma medications
Controllers
Relievers
การควบคุมโรคหืด
1.การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
2.แนะนำวิธีการหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งที่แพ้และอาการหอบหืดอย่างเป็นรูปธรรม คือสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ รวมทั้งการปฏิบัติตัว
ประเมินระดับความรุนแรงและการประเมินผลการควบคุม โรคหืดระดับความรุนแรงของการควบคุมโรค
4.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
5.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน
6.การจัดระบบให้มีการดูแลรักษาต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
1.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (chronic bronchitis)
โรคถุงลมโป่งพอง (pulmonary emphysema)
การวินิจฉัย
มีเสมหะในหลอดลม
ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
การขยายของทรวงอก
มีการทำลายเนื้อปอด
เป้าหมายของการรักษา
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
การแบ่งระดับความรุนแรงและการรักษา
ระดับที่ 1 mild
ระดับที่ 2 Moderate
แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
การรักษาทางยา
1.1 bronchodilator
1.2. Methylxanthine
1.3 Corticosteroid
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
ออกกำลังกาย
แบบแอโรบิค ฝึกกล้ามเนื้อ
การหายใจแบบ Pursed –lip
3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
6.แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
7.การหยุดบุหรี่
หลัก 5 A ในการเลิกบุหรี่
ask การถามว่าสูบบุหรี่หรือไม่
advice การแนะนำ อย่างจริงจัง ให้ เลิกบุหรี่
assess ประเมินการติดบุหรี่ โดยมีการประเมินว่า ผู้ป่วยมีการสูบบุหรี่มากน้อย แค่ไหน
assist การช่วยเหลือ ในการ เลิกบุหรี่ มีการช่วยเหลือผู้ป่วยในการเลิกบุหรี่ โดยให้คำปรึกษา หรือ ให้ยาอดบุหรี่
arrange ติดตามผู้ป่วย โดยติดตามเพื่อช่วยเหลือในการเลิกบุหรี่ และ ประเมินผลการเลิกบุหรี่ ในผู้ป่วย
ปัจจัยเสี่ยง
• ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
• ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่
ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ และการหายใจเร็ว
ไอมีเสมหะเรื้อรัง
-เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม
-เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
ระดับความรุนแรงของการอุดกั้นหลอดลม
GOLD 1 Mild : FEV1 ≥ 80% predicted
GOLD 2 Moderate : 50% ≤ FEV1< 80%predicted
GOLD 3 Severe : 30% ≤ FEV1< 50% predicted
GOLD 4 Very severe : FEV1< 30%predicted
ประเมินความเสี่ยงของการกำเริบอาการหอบเหนื่อย
Modified Medical Research Council Dyspnea Score (mMRC)
ระดับ 0 คือ ปกติไม่มีเหนื่อยง่าย
ระดับ 1 คือ มีอาการเหนื่อยง่าย เมื่อเดินเร็ว ๆ ขึ้นทางชัน
ระดับ 2 คือ เดินในพื้นราบไม่ทันเพื่อนที่อยู่ในวัยเดียวกัน เพราะเหนื่อยหรือต้องหยุดเดินเป็นพักๆ
ระดับ 3 คือ เดินได้น้อยกว่า 100 เมตร
ระดับ 4 คือ เหนื่อยง่ายเวลาทํากิจวัตรประจําวัน เช่น ใส่เสื้อผ้า อาบน้ำ แต่งตัว จนไม่สามารถออกนอกบ้านได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
2.เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจากภาวการณ์หายใจล้มเหลว
3.ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อย อ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
4.อาจเกิดอาการกลับซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
โรคมะเร็งปอด
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
Bronchitis
• สูบบุหรี่
• ควัน ฝุ่นละออง
• การติดเชื้อ
Pharyngitis
Tonsillitis
TB
Pneumonia
สาเหตุ
1.Bacteria : Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.Virus ex. หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
3.Microplasma :arrow_forward:เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
Fungus พบได้ค่อนข้างน้อย
Protozoa : Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยง
1.ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
ประเภทของโรคปอดอักเสบ
Hospital–acquired pneumonia (HAP)
Ventilator associated pneumonia (VAP)
Community–acquired pneumonia (CAP)
Healthcare associated pneumonia (HCAP)
การวินิจฉัย
ไข้สูง (39-40 ºซ.) หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า
หายใจตื้นแต่ถี่ ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง
ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ
อาจมีเริมขึ้นที่ริมฝีปาก ปอดอาจเคาะทึบ (dullness)
เสียงหายใจค่อย (diminished breath sound)
มีเสียงกรอบแกรบ (crepitation) ซึ่งมักจะได้ยินตรงใต้สะบักทั้ง 2 ข้าง
พยาธิสภาพ
ปอดอักเสบเฉพาะกลีบ มีพยาธิสภาพ 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
การรักษา
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ให้อาหารโปรตีนสูง
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
โรคแทรกซ้อน
1.ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
2.เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
4.มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะ อื่นๆ ได้แก่ ไต เยื่อบุช่องท้อง เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง ข้ออักเสบ
5.หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
6.ช็อคจากการติดเชื้อ
7.ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
8.เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
Pulmonary embolism
สาเหตุ
Venous stasis อาจเกิดหลังผ่าตัดที่ต้องนอนนาน ๆ
Vessel injury
Hypercoagulability
กรรมพันธุ์ : ขาด antithrombin Plasminogen Protein c
ความอ้วน การใส่สายสวนในหลอดเลือดดำส่วนกลาง ใส่อุปกรณ์ที่ต้องอยู่นิ่ง
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance
Vasoconstrict
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Atelectasis alveolar dead space
แนวทางการวินิจฉัยและตรวจห้องปฏิบัติการ
• หายใจหอบเหนื่อยอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก บางรายหน้ามืด เป็นลม หรือหมดสติ
• ตรวจร่างกายพบ หายใจเร็ว มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หัวใจเต้นเร็วและหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
• ถ้าอุดตันหลอดเลือดขนาดใหญ่ ผู้ป่วย จะตัวเย็น มีความดันโลหิตต่ำ ช็อก ร่วมกับมีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
• ABG พบภาวะ Hypoxemia
• D-dimer , Troponin I หรือ T สูงกว่าปกติ
การรักษา
• การให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolysis) ได่แก่ streptokinase rt-PA
• การให้ยาต้านลิ่มเลือด (anticoagulants)
• การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก (Surgical embolectomy)
Adult Respiratory Distress Syndrome
ความผิดปกติที่ปอด
การสูดดมสารพิษ
บาดเจ็บที่ปอด พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
จมน้ำ
ปอดอักเสบ ติดเชื้อ
Embolism
ความผิดปกติที่อวัยวะอื่นแล้วส่งผลมาที่ปอด
Shock จาก Sepsis หรือเสียเลือด
ได้รับเลือดปริมาณมาก
Pancreatitis
Over drug
DIC
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากพื้นที่การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง หรือมีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ
การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีเสมหะปริมาณมากและเหนียวข้น
การจำกัดการขยายตัวของปอด
Emphysema
สาเหตุ
• สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง
• การติดเชื้อ
• หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
พยาธิสรีรวิทยา
• Chronic irritation
Loss of alveolar elasticity
• Destruction of alveolus
• Bronchoconstriction
Hemothorax
• เกิดจากการถูกของมีคมทิ่มแทงทะลุผ่านเข้าไปทางทรวงอกหรือกระดูกซี่โครงที่หักทิ่มแทง
• ทำให้ขัดขวางการขยายตัวของปอด มีผลต่อระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตเช่นเดียวกับภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด และเกิดภาวะ hypovolemic shock ได้
– minimal hemothorax; 250-350 ml. เลือดจะถูกดูดกลับโดยเยื่อหุ้มปอดภายใน 10-14 วัน
– moderate hemothorax; 350-1,500 ml. มีอาการแน่นหน้าอก หายใจลำบาก และอาการของการเสียเลือด
– massive hemothorax; > 1,500 ml./hr. หรือชั่วโมงถัดมาออก > 400 ml. หรือ 2-3 ชั่วโมงต่อมาออกมากกว่า 200-300 ml.
สาเหตุ
Penetrating chest injury
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Decelerating injury
การวินิจฉัย
อาการ แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม
ถ้ามีเลือดมากเงาทึบอาจจะบังปอดข้างนั้นไว้หมด ถ้าใช้เข็มเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว
Pneumothorax
Simple pneumothorax
Spontaneous pneumothorax
Open pneumothorax
Tension pneumothorax
• ลมเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดขณะหายใจเข้า แต่ขณะหายใจออกลม
ไม่สามารถออกสู่ภายนอกได้ เนื่องจากมีส่วนของผนังทรวงอกทำหน้าที่คล้ายลิ้นปิดกั้นลม
การดูแลเบื้องต้นภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด
-ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและ
จากการที่มีลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
Pleural effusion
สาเหตุ
โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอด ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับปอดอักเสบ
2.มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด
โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง
โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ
โรคตับแข็ง
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี
โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิดร่วมกับฝีบิดในตับ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นต้น
การวินิจฉัย
ประวัติการเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุ
การตรวจร่างกาย
ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง
ได้ยินเสียง pleural friction rub
อาจพบหลอดลมคอเอียง
พยาธิสภาพ
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส (Transudative pleural effusion) มีสาเหตุเกิดจากหัวใจล้มเหลว
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น มักเกิดจากการอักเสบ เช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค
การรักษา
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
การพยาบาล
มีการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง เนื่องจากมีลม และ/ หรือสารเหลวอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในช่องเยื่อหุ้มปอด เนื่องจากใส่ท่อระบายทรวงอกค้างไว้
3.ไม่ได้รับความสุขสบาย เนื่องจากปวดแผลที่ใส่ท่อระบายทรวงอก
Pathophysiology
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหายใจ
Alveolar hypoventilation
Diffusion defect / impairment
Ventilation/perfusion mismatch
Shunt effect
การประเมินสภาพระบบหายใจ
1.การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Lung function test
Arterial Blood Gas
Respiratory Acidosis : PaCO2 > 45 mmHg
ซึม เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลง หมดสติ
การรักษา
ขจัดสาเหตุ
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
ให้การรักษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ในโรคหอบหืด
ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
Respiratory Alkalosis : PaCO2 < 35 mmHg Hyperventilation
ซึม สับสน หายใจเร็วลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
การรักษา
ปรับลด Tidal volume , RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis : HCO3 < 22 mEq
• ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
• ท้องร่วงรุนแรง
• ไตวาย
• เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
• กรดแลคติกคั่ง จากออกกำลังกายหักโหม
• ปวดศีรษะ สับสน อาเจียนท้องเดิน หายใจหอบลึก
เป็นตะคริวที่ท้อง ชาปลายมือ ปลายเท้า
การรักษา Metabolic Acidosis
• ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
• Hemodialysis
Metabolic Alkalosis : HCO3 > 26 mEq
• อาเจียนรุนแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
• ได้รับยาขับปัสสาวะมาก
• ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3-
• สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ลำไส้ไม่ทำงาน
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Respiratory Failure
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนในเลือดแดง
PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดง
PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
Pa O2 = 104 –0.27 (age)
Caused
Decreased Fi O2
Hypoventilation
V/Q mismatch
Diffusion defect
ชนิดของการหายใจล้มเหลว
Lung Failure
Oxygenation failure
Acute
Chronic
Pump Failure
Ventilatory failure
Acute
Chronic
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจVENTILATOR
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
จำแนกตามวิธีของ Mapleson
Pressure cycled ventilator
Volume cycled ventilator
Time cycled ventilator
4.Flow cycled ventilator
วงจรพื้นฐานของเครื่องช่วยหายใจ
Gas inlet
• 2. Machine หรือตัวเครื่อง
• เครื่องทำความชื้น (nebulizer or humidifier)
Simple jet nebulizer
Heated humidifier
Inspiratory pathway
. Expiratory pathway
Expiratory valve
• Breath type
• Mandatory
• เป็นการหายใจที่ควบคุมด้วยเครื่องทั้งหมด
• Assisted
• เป็นการหายใจที่ผู้ป่วยกระตุ้นให้เครื่องทำงาน
• Supported ผู้ป่วยกำหนดการหายใจออกเอง
• Spontaneousเป็นการหายใจของผู้ป่วยเองทั้งหมด
วิธีการช่วยหายใจ
Control mechanical ventilation
Assisted Control ventilation
Synchonized intermittent mandatory ventilation ( SIMV )
Pressure support
Positive end expiratory pressure
ความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
1.ระบบการต่อของเครื่อง
อาการแสดง
• Alarm low inspiratory pressure
• Alarm low Exhale tidal volume / Low Exhale MV.
สาเหตุที่พบได้บ่อย
1สายชุดช่วยหายใจหลุดจากผู้ป่วย
2สายชุดช่วยหายใจรั่ว
3กระป๋องดักน้ำปิดไม่สนิท ปีนเกลียว รั่ว
การแก้ไข
• ตรวจสอบระบบสายชุดช่วยหายใจจากผู้ป่วยสู่เครื่อง
2.ความผิดปกติของการทำงาน
อาการแสดง
• Alarm low O2 / air inlet
• Alarm Ventilator back up
• Alarm low battery
สาเหตุ
• Gas หมด รั่ว , ระบบขัดข้อง
Battery ภายในตัวเครื่อง หมดอายุ ไม่เก็บไฟ
การแก้ไข
• งดใช้งาน ช่วยหายใจให้ผู้ป่วยด้วย Self inflating bag
3.ระบบการเตือนความผิดปกติ
อาการแสดง
• Alarm high pressure limit
• Alarm high MV / high RR ( respiration rate )
สาเหตุ
• แรงดันสูงกว่าที่กำหนด จาก ผู้ป่วยกัดท่อช่วยหายใจ
ผู้ป่วยไอ เสมหะอุดตันในท่อช่วยหายใจ
• ผู้ป่วยหายใจหอบ อัตราการหายใจ มากกว่า 30-40 ครั้ง/นาที
การแก้ไข
• ตามสาเหตุ ดูดเสมหะให้ผู้ป่วย ใส่อุปกรณ์ป้องกันการกัดท่อช่วยหายใจ ตรวจสอบการตั้งค่า high pressure limit
4.การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
สาเหตุ
เกิดจากการตั้งค่าต่างๆที่กล่าวมาแล้วไม่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนั้นๆ
การแก้ไข
ตรวจสอบการตั้งค่าต่างๆว่าสัมพันธ์กับการร้องเตือนของเครื่องและอาการแสดงของผู้ป่วยหรือไม่
5.ระบบความชุ่มชื้น
อาการแสดง
น้ำขังในสายมาก
– ไม่มีน้ำขังในสายเลย สายดูแห้งสนิท ไม่มีไอน้ำเกาะ
– ผู้ป่วยไอบ่อยหายใจหอบ ดูดเสมหะไม่ได้ แต่ฟังได้เสียง secretion ในปอด
สาเหตุ
– อุณหภูมิใน chamber สูงมาก
– ไม่มีน้ำใน chamber
การแก้ไข
1 more item...
ท่อช่วยหายใจแบบต่างๆ
Endotracheal tube
• แบบมี cuff
• แบบไม่มี cuff
• Double lumen
การ Suction
เครื่อง Suction
สาย Suction
ถุงมือ sterile
สำลี alcohol
. ภาชนะใส่สาย Suction + ถุงมือใช้แล้ว
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนการหย่าจากการช่วยหายใจของเครื่อง
ขั้นตอนการหย่าจากออกซิเจน
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Weaning criteria
Clinical factors
Pulmonary gas exchange
Pulmonary mechanics
ความพร้อมทางด้านจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี
ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
ใช้ยานอนหลับ หรือยาแก้ปวดลดลง
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Conventional T- piece method
1.1 single T- piece trial
1.2 Intermittent T- piece trial
Intermittent mandatory ventilation ( IMV )
3.Pressure support ventilation ( PSV )
Continuous positive airway pressure ( CPAP )
อธิบายขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วย
ก่อนเริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ต้องดูดเสมหะก่อนและให้ผู้ป่วยพักหลังดูดเสมหะประมาณ 15 นาที
จัดให้ผู้ป่วยนั่งศีรษะสูงหรือนั่งหลังตรง(กรณีไม่มีข้อห้าม )
เจาะและส่งตรวจ ABG ไว้เป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจครั้งแรก
ให้ผู้เริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีที่เลือกใช้
สังเกตและบันทึก
6.1 ระดับความรู้สึกตัว
6.2 สัญญาณชีพ BP, HR ,RR
6.3 คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
6.4 O2 Saturation
ส่งตรวจ ABG ตามแผนการรักษา
วัดและบันทึก lung mechanic หรือ weaning record
สังเกตและบันทึก เมื่อผู้ป่วยมีอาการแสดงว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรง จากการหย่าเครื่อง หรือผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย
หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก ถ้าพบอาการดังกล่าวร่วมกับสัญญาณชีพที่เปลี่ยนไปในทางที่เลวลง ควรยุติการหย่าเครื่อง และรายงานแพทย์
ควรให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลายโดยการฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ หรืออ่านหนังสือ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอในช่วงเวลากลางคืน เมื่อพร้อมที่จะหย่าเครื่องหรือถอดท่อหายใจในช่วงเช้า