Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน
(Precipitate labor)
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ หรือ ระยะ 2 ของการคลอดไม่ถึง 10 นาที
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลัน
ผู้คลอดครรภ์หลังหรือผ่านการคลอดหลายครั้ง
ทารกตัวเล็ก
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกแรงผิดปกติ โดยเกิดเองหรือให้ Oxytocin
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์อย่างมาก
มดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรง > 5 ครั้ง/10 นาที
ตรวจภายในพบ ปากมดลูกเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก 5cm./hr.
ครรภ์หลัง 10 cm. หรือมากกว่า 10 cm./hr.
การวินิจฉัย
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่ลแะรุนแรง มีการหดรัดตัว ทุก 2 นาทีหรือบ่อยกว่านั้น
ผู้คลอดอยากเบ่งขณะที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ปากมดลูกถ่างขยายไม่สัมพันธ์กับระยะคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ทารก
ได้รับบาดเจ็บจากกระทบกระแทกเพราะช่วยคลอดไม่ทัน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ (caul delivery) อาจสำลักน้ำคร่ำได้
ถ้าช่วยเหลือช้า อาจเกิดภาวะหนาวสั่น หรือช่วยฟื้นคืนชีพช้าทำให้เสียชีวิต
สายสะดือขาด
อาจติดเชื้อ จากการคลอดเร็วม ทำความสะอาดไม่ทัน
asphyxia
ศีรษะทารกได้รับอันตรายจากการรับเด็กไม่ทัน
ภาวะ Erb' palsy ทารกไม่สามารถยกมือได้ แขนข้างที่เป็นจะบิดไปติดกับลำตัว ฝ่ามือหันไปทางด้านหลัง กางแขนนออกไม่ได้
อัตราการตายเพิ่มขึ้น
เลือดออกในสมอง (subdural hemorrhage)
มารดา
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
ติดเชื้อหลังคลอดที่แผลฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด หลังคลอด กล้ามเนื้อมดลูกอ่อนล้าจึงหดรัดตัวไม่ดี
อาจเกิด amniotic fluid embolism
อาจเกิด inversion of uterus
มดลูกแตก
เกิดการคั่งค้างของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ขาด
ถ้าแรงต้านของช่องคลอดมีมากเกินไป มีดอกาสเกิดการฉีกขาดของช่องทางคลอดได้มาก
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติคลอดเร็ว ระมัดระวังในการให้การพยาบาล เพื่อป้องกัน โดยประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
ไม่ทิ้งผู้คลอด
ระวังในการช่วยคลอด ในรายที่มีประวัติคลอดเร็ว
พิจารณาย้ายคลอดเมื่อ ปากมดลูกเปิด 5 cm. เพื่อเตรียมการช่วยคลอดโดยเร็ว
ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก และ FHR ทุก 30 นาที เพื่อประเมินสภาพมารดาและทารกในครรภ์
การดูแลตามอาการ เมื่อมีภาวะคลอดเฉียบพลัน
ให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและจมูกออก ป้องกันสำลักน้ำคร่ำ
ถ้ามารดาไม่หยุดเบ่ง ศีรษะทารกออกมาแล้ว ให้กางขามารดาออก ป้องกันศีรษะทารกถูกหนีบ
ใช้ผ้าสะอาดกดฝีเย็บ ใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนศีรษะทารกจะคลอด เพื่อป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ใช้เทคนิคหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ เข้าออกทางปากและจมูก เพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
ระยะหลังคลอดให้ดูแลอย่างใกล้ชิด กรณีมีการฉีกขาดของช่องทางคลอด และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะเพศ และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวะนะตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
การรักษา
รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ควรหยุดให้และดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้ยาที่มีคุณสมบัติทำให้มดลูกคลายตัว
ยาดมสลบ เช่น Halothane และ Isoflurance
ยาที่มีฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัว (Tocolytic agent) เช่น Ritrodine, Magnesium sulfate
การให้ยาระงับปวด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การคลอดเฉียบพลัน
ความไวต่อการเร่งคลอด
เจ็บครรภ์ถี่ๆ เจ็บครรภ์นาน
อาการอื่นๆ ร่วมกับการเจ็บครรภ์
ตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจภายใน ประเมินอัตรการเกิดขยายของปากมดลูก
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ ร่วมกับการ monitor EFM เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล
ความหวาดกลัวของผู้คลอดเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทารกเนื่องจากการคลอดเร็ว