Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก(fracture of clavicle)
เกิดขึ้นกับเด็กมากสุดโดยเฉพาะต่ำกว่า 10 ปี
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
-ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัวพันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
-ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก(fracture of humerus)
-ในทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดไหล่ติด
-เด็กโต อาจเกิดจากการล้ม การหรกของกระดูกบริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนไว้ 2-3 สัปดาห์ ในรายที่กระดูกหักออกจากกันมากๆควรตรึงด้วย traction ประมาณ 3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้ม เอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียนโรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น "Volkman's ischemiccontractur " กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radio head, pulled elbow)
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio- humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิวแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ำมือ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระตกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2-3ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า เพราะซุกชนกว่า ตำแหน่งที่พบ คือ ช่วงกลางของกระดูกตันขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงตำแหน่งกระดูกถ้าอายุต่ำกว่า 3ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
ข่ายประสาท brachial plexus เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami ระดับ C5-T1ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อและรับความรู้สึกจากบริเวณไหล่จนถึงปลายมือเมื่อมีภยันตรายต่อข่ายประสาทมีผลให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ:เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยืด ได้แก่ การคลอดท่าก้น
ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้ำหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
กรวินิจฉัย:จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา:ในผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาท
โดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บจากกระดูกและข้อ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ การพยาบาลจึงต้องคำนึงถึงอวัยวะส่วนอื่นๆ โดยเฉพาะระบบที่ทำให้เด็กอันตรายถึงชีวิต โดยพิจารณาระบบ ABCDEF
จากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต
คลำ ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะการเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ
การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.1 เข้าเฝือกปูน
1.การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
2.การประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือก 24 ชม.
6P: - Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น -Pallorปลายมือปลายเท้าชิด หรือเขียวคล้ำ -Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก -Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้ - Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม - Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
3.ยกแขที่เข้าเฝือกให้สูง
3.2 ดึงกระดูก( traction)
หลักการดึง
-น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูก
ควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
-ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
ควรใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับposition ของ traction นั้นๆ
-สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
-จะต้องไม่เอาน้ำหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
-รายที่ทำ Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
-การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพอยู่ตลอดเวลา
-ดูแล เรื่องการดึงสมดุลเพียงพอต่อน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
ชนิด
Bryant's traction: ในเด็กที่กระดูกตันขาหัก ( fracture shaft of femur )
ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb: ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ตันแขน
เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับลำตัว
ในรายที่ผู้ป่วยแขนหักแล้วมีอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
Dunlop's traction: ใช้กับเด็กในรายที่มี Dsplaced Supracondylar Fracture
ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ (reduce)ได้
หรือในรายที่มีอาการบวมมาก บางกรณีใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Skin traction: ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต
อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหา
การกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Russell's traction: ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ facture
บริเวณ supracondyla region of femur การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า
sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
3.3 ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation ( ORIF )
การจัดกระดูกให้เข้าที่โดยใช้โลหะยึดไว้ แพทญืจะพิจาราณาในรายที่กระดูกหักมาก
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้ำ แปรงฟัน ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าออมสำเร็จรูป การสำรวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
5.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ยา/เอกสารใบเซ็นยินยอม/ผล Lab/ผล X-ay
จิตใจ
ผู้ป่วยและญาติให้คำแนะนำเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย (เด็กโต) และญาติ เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด,ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป,การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความ,การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากผ่าตัด
การประเมิน
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียง
ของการวางยาชนิด GA / การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน
สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ถ้าปวดอาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนาๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก แล้วรีบรายงานแพทย์ ในรายที่มีท่อระบาย ถ้าเลือดออกมากกว่า 3 มล./กก./ ชม. หรือ 200cc/ชั่วโมง แสดงว่ามีภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด
3.3.1 ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย ด้วยการทดสอบการไหลเวียนเลือด (blanching test)
เพื่อตรวจสอบว่าเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายเพียงพอหรือไม่ปกติไม่ควรนานเกิน3 วินาทีและ ประเมิน 6 P
3.3.2 จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ทำผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ
เพื่อลดอาการบวม และปวด
3.3.3 การทำแผล จะเปิดทำแผลทุกวันหรือไม่เปิดทำแผลเลยจนกว่าจะตัดไหม ขึ้นกับลักษณะของแผลการตัดไหมมักจะเอาไว้อย่างน้อย 10-14 วัน
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ป้องกัน/ลดอาการข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ำให้เพียงพอ
4 ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิติกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติ
ที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
แต่ต้องประเมินอาการปวดด้วยการ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
1.ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
2.จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
3.ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือ skin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยสำลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก
ข้อเข่า ควรคลาย สำลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด
ต้องหมั่นทำแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้ำ,มีไข้สูง
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกำแบมือบ่อยๆ
ปัญหาเกี่ยวกับกระดูก
ข้อเคลื่อน หมายถึง ภาวะการเคลื่อนของผิวข้อออกจากเบ้า
กระดูกหับ หมายึง ภาวะและโครงสร้างที่สาวนประกอบออกจากกัน
สาเหตุ
มักเกิดจากอุบัติเหตุนำมาก่อน มีการกระแทกบริเวณกระดูดโดยตรงหรือทางอ้อม และอาจเกิดจากพยาธิสภาพของโรค
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับภยันตรายให้มาก ต้องกระทำด้วยความนุ่มนวล เพราะเด็กจะเจ็บ
2.1 ลักษณะของกระดูกหัก สังเกตลักษณะภายนอกว่าเป็นกระดูกหักชนิดที่มีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผลมีกระดูกโผล่มาหรือไม่
2.2 ลักษณะของข้อเคลื่อน มี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด และข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย โดยที่ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
การรักษา จุดประสงค์หลักคือช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนและแก้ไขสิ่งที่ทำให้เกิดอันตราย
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
3.1ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด อาจช่วยได้โดยให้ยาลดปวดจัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด และพยายามจัดกระดูกให้เข้าที่
3.2 จัดกระดูให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
3.3 ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
3.4 ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานเร็วที่สุด
ภาวะแทรกซ้อนและการป้องกัน
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation), 2. ข้อศอกอาจจะงอ, 3. ข้อมือพับลง (palmar flemion), 4. ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension, 5. นิ้วจะงอทุกนิ้ว, 6. อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย, 7. กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง, 8. ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้, 9. กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
จากการเข้าเฝือก เฝือกที่เข้าไว้ในระหว่างที่การบวมยังดำเนินอยู่เมื่อเกิดอาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่
แต่เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกระยะต่าง ๆ ของการเกิด Volkmann's ischemic contracture แบ่งเป็น 3 ระยะคือ
ระยะเริ่มเป็น
ก. มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
ข. เจ็บ และปวด
ค. นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทำให้นิ้วแข็ง
ง. สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำ แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่
จ. มีอาการชา
ฉ. ชีพจรคลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี้ขยายตัวไม่ได้มากนัก จึงทำให้เกิดความอัดดันภายในมาก เป็นเหตุให้กล้ามเนื้อถูกทำลายสลายตัว เปลี่ยนสภาพเป็น fibrous tissue และหดตัวสั้นทำให้นิ้วและมือหงิกงอ นอกจากนี้ median nerveและ ulnar nerve อาจถูกบีบรัดอยู่ใน fibrous tissue ทำให้มีอาการของอัมพาตได้ ข้อนิ้วและข้อมือจะแข็ง เนื่องจากไม่ได้ทำงานและจากการหดตัวของเยื่อบุข้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้วทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
วิธีการป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจร
เป็นหลักพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
การใช้ slab จะทำให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast