Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
การพยาบาลอาชีวอนามัย
Occupational Health
การดูแลสุขภาพอนามัย
ความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ
การทำนุบำรุงรักษาสุขภาพ
ขอบเขตงานอาชีวอนามัย
การส่งเสริม
การป้องกัน
การปกป้องคุ้มครอง
การจัดการงาน
การปรับงานและคนให้เหมาะสม
ขอบเขตของการดำเนินงานอาชีวอนามัย
คน
มีการตรวจสุขภาพเพื่อค้นหาโรค
ความเจ็บป่วยที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน
ได้รับการตรวจสอบเป็นประจำ
ลักษณะงานที่ทำ
ส่งเสริมให้คนทำงานมีความรู้
ควบคุมดูแลให้อยู่ในสภาพที่ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อ
สุขภาพ
ผู้ประกอบอาชีพ
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม
2.เพื่อป้องกันควบคุมโรค และการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ
3.เพื่อรักษาพยาบาลผู้ประกอบอาชีพ
4.เพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกายผู้ประกอบอาชีพ
.สิ่งแวดล้อมในการทำงาน
ค้นหาปัญหาจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน โดย “การเดินสำรวจ”
ประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
การดูแลทางด้านการยศาสตร์ (ergonomic)
การควบคุมสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยจากสารเคมี
อันตรายจากการประกอบอาชีพ
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ความร้อน
ความเย็น
ความสั่นสะเทือน
2.อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
สารหนู
ตะกั่ว
ฟอสฟอรัส
3.อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
แบคทีเรีย
ไวรัส
เชื้อปรสิต
4.อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาทางสังคม
สิ่งแวดล้อมในการทำงานไม่เหมาะสม
นโยบายองค์กร รับผิดชอบงานมากเกินไป
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลไม่ดี
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ
Worker
เพศ
การศึกษา
ความไวต่อการเกิดโรค
Working condition
ชั่วโมงการทำงาน
สวัสดิการพื้นฐาน
ความปลอดภัยของเครื่องจักร
Working Environment
1 ปัจจัยคุกคามด้านกายภาพ
ความร้อน
ความเย็น
ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
ความสั่นสะเทือน
รังสี
แสงสว่าง
เสียง
2 ปัจจัยคุกคามด้านชีวภาพ
เชื้อแบคทีเรีย
ไวรัส
ปรสิต
เชื้อรา
3 ปัจจัยคุกคามด้านเคมี
ฝุ่น ควัน ก๊าซ
การหายใจ การรับประทานและการสัมผัสทางผิวหนัง
โรคที่เกิดจากการสัมผัสสารเคมี
โรคของพิษสารหนู
โรคพิษสารตะกั่ว
โรคพิษของสารแคดเมียม
โรคพิษจากสารปรอท
4 ปัจจัยคุกคามด้านจิตสังคม
มีภาระงานมาก
การเปลี่ยนงาน
เกิดความไม่มั่นคงในหน้าที่การงาน
การขาดแรงสนับสนุน
ทางสังคม
5 ปัจจัยคุกคามด้านการยศาสตร์
การทำงานซ้ำๆซากๆต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ๆ
การยกของหนักเกินกำลัง
ปัญหาสุขภาพ และโรคที่พบ
ในการประกอบอาชีพ
โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคพิษตะกั่วของคนงานในโรงงานผลิตแบตเตอรี่ที่สัมผัส
ตะกั่วในการทำงาน
การสูญเสียการได้ยินจากเสียง
โรคปวดหลังจากการยกของหนักผิดวิธี
2.โรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน
โรคความดันโลหิตสูง
โรคกระเพาะอาหาร
ไข้มาลาเรีย
โรคหูตึงจากการทำงาน
บิสสิโนสิส
โรคปอดฝุ่นฝ้าย
3.อุบัติเหตุและการบาดเจ็บการประกอบอาชีพ
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย
สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
หลักการป้องกันโรคและการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงาน
สำรวจปัจจัยคุกคามจากการทำงาน
ประเมินปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงาน
การควบคุมปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงาน
การควบคุมแหล่งกำเนิด
ควบคุมทางผ่าน
ควบคุมที่ผู้ปฏิบัติงาน
การให้บริการอาชีวอนามัย
หน่วยบริการอาชีวเวชกรรม
มีหน้าที่ดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพทั้งในและนอกโรงพยาบาล
บริการเวชกรรมในโรงพยาบาลจัดอยู่ในรูปคลินิกอาชีวเวชกรรม
คลินิกอาชีวเวชกรรม
ให้บริการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคแก่ผู้ป่วยที่ประสบอันตราย
จากการประกอบอาชีพ
รับและส่งต่อผู้ป่วยที่ประสบอันตรายจากการประกอบอาชีพ
เพื่อการรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ สมรรถภาพและสภาวะการเจ็บป่วย
3.ให้บริการเชิงรุกร่วมกับหน่วยงานอื่น และให้บริการตรวจสุขภาพก่อนเข้างานตามความเสี่ยง
องค์ประกอบของงานบริการอาชีวอนามัย
การบริการที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการทำงาน
การดูแลด้านความปลอดภัย
การดูแลด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
การดูแลจัดสภาพงาน
การบริการที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพ
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
การรักษาพยาบาล
การฟื้นฟูสภาพจากการทำงาน
การดูแลสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ
การเฝ้าระวังทางด้านสุขภาพ
การเฝ้าคุมสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
การให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในสถานประกอบการ
การให้ความรู้และการให้การปรึกษาทางด้านสุขภาพ
กฎหมายและพระราชบัญญัติ
ที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน 2541
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
หมวด 8
พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554
มาตรา 6
มาตรา 16
มาตรา 22
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2553
กรณีประสบอันตราย
กรณีคลอดบุตร
กรณีทุพพลภาพ
กรณีว่างงาน
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
ขอบเขตการปฏิบัติงานและบทบาทหน้าที่
ของพยาบาลอาชีวอนามัย
การประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ
และสถานที่ทำงาน
การดูแลด้านอาชีวอนามัยและการรักษาโรคเบื้องต้น
การจัดการรายกรณี
การส่งเสริมสุขภาพการปกป้องสุขภาพและการป้องกันโรค
การให้คำปรึกษา
การจัดการและการบริหารงาน
การประสานการทำงานกับชุมชน
การวิจัยและการวิเคราะห์แนวโน้ม
การจัดการด้านกฎหมายและจริยธรรม