Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้การเข้าประชุมครั้งที่ 3 - Coggle Diagram
สรุปการเรียนรู้การเข้าประชุมครั้งที่ 3
การป้องกันการตกเลือดระยะที่ 3 Active Management
ให้ oxytocin โดยหลังทารกคลอดไหล่หน้า ถ้ามั่นใจว่ามีทารกคนเดียว ให้ฉีด oxytocin 10 ยูนิต เข้ากล้ามมารดา
ทาคลอดรกโดยวิธี controlled cord traction โดยรอให้มดลูกหดรัดตัวอย่างแรง แล้วใช้มือข้างหนึ่ง ดึงสายสะดือเบาๆ ขณะที่มืออีกข้างกดที่เหนือกระดูกหัวเหน่า
นวดคลึงมดลูกให้หดรัดตัวดี ทุก 15 นาที จนครบ 2 ชั่วโมงหลังคลอดรก
การรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอดทันที
แนวทางการดูแล
หาสาเหตุของการตกเลือดหลังคลอด เริ่มจากตรวจ การหดรัดตัวของมดลูก การฉีกขาดของช่องทางคลอด
ให้การดูแลรักษาตามสาเหตุรวมกับการรักษาแบบ
ประคับประคองอื่นๆ
4T
uterine tone
นวดคลึงมดลูก
ล้วงก้อนเลือดในช่องคลอด
Bimanual uterine compression โดยใช้มือหนึ่งวางอยู่ทางหน้าท้อง โดยพับยอดมดลูกมาทาง pubic symphysis ให้มากดกับมือที่อยู่ในช่องคลอดให้ยาช่วยการหดรัดตัวมดลูก
placental tissue
ถ้ารกยังไม่คลอด ให้ล้วงรก
อัลตราซาวด์
ว่ามีเศษรกค้างหรือไม่
ถ้ามีเศษรกค้าง ให้ขูดมดลูก
genital tract trauma
เย็บซ่อมตำแหน่งฉีกขาด
ผ่าตัดเปิดหน้าท้องเพื่อตัดมดลูก (กรณีมดลูกแตก)
ใส่มดลูกกลับคืนกรณีมดลูกปลิ้น
abnormal thrombin clotting time
ให้แก้ไข และต้องให้เลือดทดแทน
ประเมินปละการพยาบาลผู้คลอด 2 ชั่วโมงหลังคลอด
การประเมินสภาพร่างกายทั่วไป
รวบรวมข้อมูลประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดของครรภ์ปัจจุบัน
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินสภาพการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินสภาวะของกระเพาะปัสสาวะ
น้ำคาวปลา (Lochia) จะมีลักษณะสีแดงสด
สภาพของช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บ
อาการอ่อนเพลีย ความเจ็บปวดและ การรับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมภายหลังคลอด
การประเมินสภาวะด้านจิต-สังคม
การดูแลมารดาหลังคลอด 2 ชั่วโมง
จัดให้มารดานอนหงายราบในท่าที่สบาย
ดูแลร่างกายของมารดาให้สะอาด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงหลังคลอด 30 นาทีในชั่วโมงที่สอง
สังเกตจำนวนและลักษณะของเลือดที่ออกทางช่องคลอด
กระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ
วัดสัญญาณชีพ 15 นาที 1 ชั่วโมงหลังคลอด 30 นาทีในชั่วโมงที่สอง
การวัดอุณหภูมิ
หลักการประเมิน 5 B
Black ground and Body condition
การตรวจร่างกายทั่วไป
Breast and Lactation
เต้านม หัวนม และการไหลของน้้านม
Bladder and Uterus
การประเมินกระเพาะปัสสาวะและระดับยอดมดลูก
Bleeding ,Lochia and Episiotomy
ปริมาณของเลือดหรือน้้าคาวปลา
Bottom
ทวารหนักและอวัยวะโดยรอบ
การตัดฝีเย็บ
ชนิดของการตัดฝีเย็บ
Lateral episiotomy
ตัดจาก posterior fourchette ไปทางด้านข้างขนานกับแนวราบ
Median episiotomy
ตัดจาก posterior fourchette ลงไปตามแนวดิ่ง
Medio - Lateral episiotomy
ตัดจากจุด posterior fourchette ลงไป
โดยท ามุมกับแนวดิ่ง 45 องศา
เวลาที่เหมาะสมในการตัดฝีเย็บ
เห็น perineum โปุงตึง บาง เป็นมันใส
ก่อนที่จะมี crowning เล็กน้อย
วิธีการตัดฝีเย็บ
ฉีดยาชาเฉพาะที่บริเวณที่จะตัด
เริ่มตัดให้ตรงกับกึ่งกลางของ Fourchette
การซ่อมแซมฝีเย็บ
First degree tear เป็นการฉีกขาดของผิวหนังที่ฝีเย็บ
Second degree tear การฉีกขาดของชั้นผิวหนัง กล้ามเนื้อของช่องคลอดและฝีเย็บ
Third degree tear การฉีกขาดของกล้ามเนื้อเนื้อหู
รูดทวารหนัก
Fourth degree tea การฉีกขาดทวารหนักจนถึงผนังของ Rectum
การส่งเสริมสัมพันธภาพ ระหว่างบิดา มารดา
ทารก และสมาชิกในครอบครัว
มารดา
นำทารกวางหน้าอกมารดา
ให้มารดาสำรวจร่างกายทารก สัมผัส โอบกอด
ให้ทารกดูดนมมารดา ภายใน 1 ชั่วโมงหลังเกิด
บิดา
เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
ภรรยาและทารก
ส่งเสริมให้บิดาอุ้ม สัมผัส ประสานสายตากับ
ทารก
การอาบน้ำให้กับทารก
ปู่ ย่า ตา ยาย
ช่วยเหลืองประคับประคอง เพื่อให้เห็นอกเห็นใจ
กัน
กระตุ้นให้ใกล้ชิดกับทารก
เปิดโอกาสให้ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ ที่ไม่
เป็นอันตรายต่อทารกและมารดา
การตรวจรก การตรวจการฉีกขาดช่องทาง
คลอด การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
การตรวจรก
ลักษณะของรก
รกด้านมารดา
ด้านที่ติดกับผนังมดลูก มีสีแดงเข้ม เห็น Cotyledon จะมีประมาณ 15 - 20cotyledons
รกด้านเด็ก
มีสีเทาอ่อนและเป็นมันเนื่องจากมีเยื่อหุ้มทารกชั้น amnion คลุมอยู่
เยื่อหุ้มทารก
Chorion
เยื่อชั้นนอกที่ติดกับผนังมดลูก ลักษณะไม่ใสและไม่เรียบ
Amnion
เป็นเยื่อที่ห่อหุ้มตัวทารก สายสะดือและน้ำคร่ำ
ไว้ติดอยู่กับรกด้านเด็ก
รกที่ใกล้
ที่สุดไม่น้อยกว่า 7.0 ซม. ถ้ามีระยะสั้นกว่านี้แสดงว่ารกเกาะต่ำ
สายสะดือ
Vein 1 เส้น คือ Umbilical vein นำเลือดดีเข้าสู่ตัวทารก
Umbilical artery อีก 2
False vascular knot คือUmbilical vein ขดเป็นกระจุกเป็นปม
True knot คือ สายสะดือผูกกันเป็นปมทำให้เลือดไปหล่อเลี้ยงไม่สะดวกและไม่เพียงพอ
ตำแหน่งการเกาะของสายสะดือบนรก
Central insertion สายสะดือติดอยู่กลาง
Lateral insertion สายสะดือติดไปทางด้านใดด้านหนึ่ง
Marginal insertion สายสะดือจะติดอยู่ที่ริมขอบรก
การตรวจการฉีกขาดช่องทางคลอด
First degree tear ฉีกขาดบริเวณ Fourchette ผิวหนังบริเวณด้านหน้าของฝีเย็บ
Second degree tear รฉีกขาดที่ลึกลงไปถึงกล้ามเนื้อของ Perineal body
Third degree tear เป็นการฉีกขาดที่ลึกลงไปถึงหูรูดทวารหนัก
การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกหลังคลอดจะมีลักษณะ แบนกลม
ความสูงของยอดมดลูกจะอยู่ต่ำกว่าสะดือ 1-2 CM
การคาดคะเนการตกเลือด
การคลอดปกติเลือดออกประมาณ 200-300 cc
ถ้าเลือดออก เท่ากับหรือมากกว่า 500 cc แสดงว่าผู้คลอดกำลังตกเลือด
สาเหตุของการตกเลือด
Tone
Trauma
Tissue
Thrombin