Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของทางเดินหายใจ, COPD WHO, 2989, 62671798, 300px-Blausen_0742…
ความผิดปกติของทางเดินหายใจ
การอุดกั้นระบบทางเดินหายใจ
Asthma
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้น
.สารระคายเคือง
สารก่อภูมิแพ้
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรสัของทางเดินหายใจส่วนต้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด
การวัดค่าความผันผวนของ PEFในแต่ละช่วงเวลา ประมาณ 1-2สปัดาห์
การซักประว้ติ
ประวัติหอบหืดในครอบครัว ปะวัติการเกิดอาการหอบหืด
การรักษา
ยาที่ใช้ควบคุมโรคหืด (Controllers) ต้องใช้เป็นประจำเพื่อการรักษาอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดคือยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด (Inhaled Corticosteroid) และยังมีย ากลุ่มอื่น ๆ ที่สามารถใช้ได้ เช่น ยาต้านลิวโคไทรอีน (Leukotriene Modifier Antagonist)
ยาที่ใช้บรรเทาอาการโรคหืด (Relievers)ใช้เพื่อบรรเทาอาการหอบ จะใช้ยากลุ่มนี้เฉพาะเมื่อมีอาการ ได้แก่ ยาพ่นขยายหลอดลมชนิดเบต้า 2 (Beta2-agonists)
อาการ
COPD
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการไอ ไอมีเสมหะ ประวัติสูบบุหรี่
การตรวจร่างกาย
การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ, ฟังปอดได้ยินเสียงหายใจออกยาว เสียง Rhonchi เกิดหลอดลมถูกกั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ ABG วิเคราะห์แก๊สในเลือด, ตรวจสมรรถภาพปอด, Chest X-ray พบกระบังลมถูกกดแบน ปอดยาวกว่าปกติ
การรักษา
1.การรักษาทางยา
2.การฟื้นฟสูมรรถภาพปอด
3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทาน อาหารคารโ์บไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
6.แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
7.การหยุดบุหรี่
อาการ
หอบเหนื่อย
ไอมีเสมหะเรื้อรัง
มักจะไอหรือขากเสมหะในคอหลังตื่นนอนตอนเช้า
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
Pneumonia
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อไมโครพลาสมา เชื้อรา เชื้อโปรโตซัว
สารเคมี
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีไข้ ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Chest X-ray พบเงาผิดปกติ, ตรวจ CBC ดููค่า WBC,Neutrophil,Lymphocyte , Sputum culture, Hemo culture
การตรวจร่างกาย
เคาะปอดอาจได้ยินเสียงทึบ Dullness ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation
การรักษา
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขบัเสมหะ
ดแูลบำบัดทางระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ให้อาหารโปรตีนสูง
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน เพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
อาการ
Bronchitis
สาเหตุ
• สบูบหุรี่ • ควัน ฝุ่นละออง • การติดเชื้อ
อาการ
ไอบ่อย ไอมากตอนกลางคืน ระยะแรกไอแห้งๆ 4-5 วันต่อมา
ไอมีเสมหะเหนียวขาวหรือเหลืองเขียว
อาจมีไข้ต่ำๆหรือไม่มีก็ได้
การรักษา
รักษาตามอาการ ไอมากให้ยาขับเสมหะ
รับประทานยาปฏิชีวนะ
Emphysema
สาเหตุ
• สบูบหุรี่ ควัน ฝ่นุละออง • การติดเชื้อ • หลอดลมอกัเสบเรื้อรัง
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากพืน้ที่การแลกเปลี่ยน ก๊าซลดลง หรือมีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ
การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีเสมหะ ปริมาณมากและเหนียวข้น
การจำกัดการขยายตัวของปอด
Hemothorax
สาเหตุ
เกิดจากอุบัติเหตุ ถูกยิง หรือถูกแทงบริเวณหน้าอก
จากแรงกระแทกทำให้เลือดระหว่าง ซี่โครงฉีกขาด
การวินิจฉัย
อาการ
แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความ ดันโลหิตต่ำหรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย
อาจพบหลอดลมคอ และหวัใจถกูดนัไปด้านตรง ข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะ พบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม ถ้ามีเลือดมากเงา ทึบอาจจะบงัปอดข้างนัน้ไว้หมด ถ้าใช้เขม็เจาะโพรงเยื่อห้มุ ปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว
การรักษา
การใส่ท่อระบายทรวงอก
การผ่าตัดทรวงอก
การรักษาด้วยยาโดยให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำการให้ยาแก้ปวด การให้ยาเพิ่มความดันโลหิตเพื่อแก้ไขภาวะช็อค
พยาธิสภาพ
เมื่อมีรูทะลุเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดเกิดการฉีกขาดของเลือดบริเวณทรวงอก ทำให้มีทั้งลมและเลือด ออกมาในช่องเยื่อหุ้มปอดทำให้เกิดความดันบวกในช่องเยื่อหุ้มปอด หากมีเลือดออกในเยื่อหุ้มปอดมากทำให้การขยายตัวของปอดไม่ดี ทำให่ช็อกจากการเสียเลือดหมดสติ
Pleural effusion
สาเหตุ
.
โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอด ภาวะน้ำาในช่องเยื่อหุ้มปอด ร่วมกับปอดอักเสบ
2.มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด
โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง
โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ
โรคตับแข็ง
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี
โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำาในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิด ร่วมกับฝีบิดในตับ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นต้น
การวินิจฉัย
ประวัติ
การเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุ
การตรวจร่างกาย
ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง ได้ยินเสียง pleural friction rub อาจพบหลอดลมคอเอียง
พยาธิสภาพ
ร่างกายมีการสร้างของเหลวในชั้นของเยื่อหุ้ม ปอดมากจนเกินไป จนเบียดพื้นที่ในการ แลกเปลี่ยนกา๊ซของปอด
น้ำในเยื่อห้มุปอดที่เป็นของเหลวใส
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น
การรักษา
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสม อยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
Pneumothorax
สาเหตุ
Simple pneumothorax
เกิดจากแรงกระแทกท าให้เยื่อหุ้มปอดฉีกขาด หรืออาจเกิดจากการทำหัตถการที่ใกล้ทรวงอก การแทงสายยางเพื่อเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
Spontaneous pneumothorax
เป็นสภาวะที่มีลม อยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity) ซึ่งเกิด จากการแตกของถงุลมในปอด
Open pneumothorax
มีทางติดต่อกับอากาศ ภายนอกทางบาดแผลทะลุ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติอาการและอาการแสดงได้รับอันตรายบริเวณทรวงอก โรคของปอด
การตรวจพิเศษภาพรังสีทรวงอกพบลมในช่องเยื่อหุ้มปอดหลอดลมเอียงไปด้านตรงข้ามด้านมีพยาธิสภาพ
พบพยาธิสภาพบริเวณทรวงอก เกิดบาดแผล กระดูกซี่โครงหัก
การเคลื่อนไหวของทรวงอกน้อยด้านที่มีพยาธิสภาพ เคาะปอดได้เสียงโปร่ง
การรักษา
1.การใส่ท่อระบายทรวงอก(Intercostal chest drainage) เพื่อระบายออกจากช่องเยื่อหุ้มปอด
2.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำทดแทน
3.การให้ออกซิเจนบรรเทาอาการปวด อาการไอ
4.การใช้เครื่องช่วยหายใจ และการดูดเสมหะ
5.ในรายที่เป็นซ้ำบ่อยๆมักเกิดจากการติดเชื้อทำโดยการใส่สารเคมี
6.ผ่าตัดเปิดผนังทรวงอก
การพยาบาล
มีการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง เนื่องจากมีลม หรือสารเหลวอยู่ในช่องเยื่อหุ้มปอด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในช่องเยื่อหุ้มปอด เนื่องจากใส่ท่อระบายทรวงอกค้างไว้
ไม่ได้รับความสุขสบาย เนื่องจากปวดแผลที่ใส่ท่อระบายทรวงอก
Respiratory Failure
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนใน เลือดแดง
PaO2 ตำกว่า 50 mmHg
PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
สาเหตุ
Decreased Fi O2 Hypoventilation V/Q mismatch Diffusion defect
Lung Failure
Oxygenation failure มีภาวะHypoxemia,PaO2≤ 60mmHg Gas exchange failure “hypoxemia”
Pump Failure
Ventilatory failure มีภาวะHypoxemia,PaO2 ≤ 45 mmHg และ pH<7.35 “hypercapnia”
อาการ
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่าย สับสนการ รับรู้ลดลง ระยะรุนแรงซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก ชักทั้งตัวได้
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ถ้ารุนแรงมากอาจเกิด Cheyne –Stokes breathing หรือ apnea
ระบบหวัใจ และหลอด เลือด
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การเต้นของหัวใจ เรว็ขึน้ เมื่อรนุแรงหวัใจจะบบีตวัลดลง เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลงสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น เลือดหนืดมากขึน้ หวัใจซีกขวาล้มเหลวเฉียบพลัน
ระบบ ผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตวัเยน็ ระยะขาดรนุแรง จะมีอาการตวัเขียว เมื่อ PO2<40mmHg หรือ O2Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
Pulmonary embolism
สาเหตุ
1.Venous stasis อาจเกิดหลังผ่าตัดที่ต้องนอนนาน ๆ
Vessel injury
Hypercoagulability
กรรมพันธฺุ์
ความอ้วน
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance 2. Vasoconstrict 3. Decrease surfactant 4. Pulmonary edema 5. Atelectasis alveolar dead space
วินิจฉัยและตรวจห้องปฏิบัติการ
หายใจหอบเหนื่อยอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก บาง รายหน้ามืด เป็นลม หรือหมดสติ
ถ้าอุดตันหลอดเลือดขนาดใหญ่ ผู้ป่วย จะตัวเย็น มีความดันโลหิตต่ำ ช็อก ร่วมกับมีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
ABG พบภาวะ Hypoxemia
D-dimer , Troponin I หรือ T สูงกว่าปกติ
การรักษา
การให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolysis) ได่แก่ streptokinase rt-PA
การให้ยาต้านลิ่มเลือด (anticoagulants)
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก (Surgical embolectomy)
นางสาวณัฐวดี สมบูรณ์ เลขที่ 26 รหัสนักศึกษา 612501028