Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน (Preciptate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน (Preciptate labor)
ความหมาย
คลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 ชั่วโมง หรือประมาณ 2-4 ชั่วโมง
การเปิดขยายของปากมดลูก
ครรภ์แรก
5 cm./hr (1 cm. ทุก 12 นาที)
ครรภ์หลัง
10 cm./hr (1 cm. ทุก 6 นาที)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
แรงต้านของเนื้อเยื่อช่องคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และ กล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลัน
ทารกตัวเบ็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด ทำให้เคลื่อนต่ำได้ง่าย
ผู้คลอดไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์มาก
มดลูกหดรัดตัวถี่และรุนแรง > 5 ครั้ง ใน 10 นาที
ตรวจภายใน พบปากมดลูก G1 dilatation. 5 cm/hr และ G2 dilatation. 10 cm./hr
การวินิจฉัย
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3 hr.
G1 dilatation. 5 cm/hr และ G2 dilatation. 10 cm./hr
contraction ทุก 2 นาที Duration >90วินาที
ความดันในโพรงมดลูกประมาณ 50- 70 มิลลิเมตรปรอท
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
เนื้อเยื่อที่ช่องคลอดเกิดการฉีกขาด
มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีเลือดออกจากแผล กล้ามเนื้อมดลูกอ่อนล้าหดรัดตัวไม่ดี
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวรุนแรง
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
อาจเกิดมดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
ทารก
เลือดในสมอง (subdural hemorrhage) ศีรษะทารกลงมากระทบกับพื้นที่เชิงกราน
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะปัญญาอ่อน
อาจเกิดภาวะ Erb' palsy คือ ความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนที่ถูกดึงมากเกินไป
เกิด asphyxia เนื่องจากรกลอกตัวก่อนกำหนด หรือ จากการที่มดลูกหดรัดตัวรุนแรง ทำให้เส้นเลือดหดรัดตัว เลือดไหลผ่านรกได้น้อย
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทก
สายสะดือขาดเนื่องจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
ทารกอาจสำลักน้ำคร่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกอาจติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้ทำความสะอาดก่อนคลอด
การรักษา
ดูแลตามอาการ
ในรายที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัว ควรหยุดและดูแลใกล้ชิด
ให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ในรายที่คลอดเฉียบพลัน แพทย์มักให้ยา ปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ให้ยา methergin หลังคลอดเพื่อป้องกันการตกเลือด
ผ่าตัดคลอด ในรายที่มดลูกแตก (utrine rupture) หรือ น้ำคร่ำอุดตันในกระเเสเลือด (amniotic fluid embolism)
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติคลอดเร็ว ต้องระมัดระวังในการให้การพยาบาล เพื่อป้องกันการคลอดเฉียบพลัน
1.1 ประเมินการหดรัดตัวและฟัง FHS ทุก 30 นาที
1.2 ประเมินการเปิดขยายและความบางปากมดลูก
1.3 พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอด ในมารดาที่มีประวัติคลอดเร็วควรย้ายเข้าห้องคลอดเมื่อ ปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร
การดูแลตามอาการ ในกรณีที่มีภาวะคลอดเฉียบพลัน
2.1 กระตุ้นมารดาโดยใช้เทคนิค การหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ เพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
2.2 ใช้ผ้าสะอาดกดที่บริเวณฝีเย็บ พร้อมทั้งใช้มือกดที่ศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนที่ศีรษะทารกจะคลอด เพื่อป้องกันการฉีดขาด
2.3 กรณีที่มารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง และศีรษะทารกออกมาแล้ว ให้กางขามารดาออก เพื่อป้องกันศีรษะทารกถูกหนีบ
2.4 จับทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและจมูกของทารก เพื่อป้องกันการสำลักน้ำคร่ำ
หลังคลอดควรดูแลอย่างใกล้ชิด ในกรณีที่ช่องคลอดฉีกขาด เพื่อป้องกันการตกเลือด
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนดารรักษา