Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันในช่องปิดกล้ามเนื้อสูง - Coggle Diagram
ภาวะความดันในช่องปิดกล้ามเนื้อสูง
ภาวะความดันในช่องปิดกล้ามเนื้อสูงแบบเฉียบพลัน
จะเกิดขึ้นหลังจากได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง
ตัวอย่าง
กระดูกแขนขาหัก
พบบ่อยที่สุด
สาเหตุอิ่นที่ทำให้เกิดภาวะความดันในช่องปิดกล้ามเนื้อสูงแบบเฉียบพลัน
การใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติด
การใช้อนาบอลิกสเตียรอยด์ที่มักใช้เพื่อสร้างกล้ามเนื้อ
เกิดจากแผลไหม้
ได้รับการบาดเจ็บจากแรงบีบหรือกระแทก
เกิดการช้ำของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
การออกกำลังกายที่ใช้แรงเยอะรวมถึงท่าที่ใช้แรงยก ซึ่งทำให้เกิดแรงกดมายังอวัยวะ
การพันผ้าพันแผลหรือใส่เฝือกที่รัดแน่นจนเกินไป
รักษากระดูกที่หัก โดยเฝือกที่ใช้นั้นมีขนาดเล็กหรือแน่นจนเกินไปก็อาจทำให้เกิดอาการได้
อาการเคล็ดอย่างรุนแรง
ภาวะความดันในช่องปิดกล้ามเนื้อสูงแบบเรื้อรัง
สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย
โดยเฉพาะคนที่ออกกำลังกาย
เคลื่อนไหวซ้ำๆ ร่วมกับการับน้ำหนักมากเกินไป
นักกีฬา
นักวิ่ง
แต่จะพบมากในคนที่อายุต่ำกว่า 40 ปี
ภาวะที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
มักเกิดขึ้นบริเวณ
ก้น
ต้นขา
ขาส่วนล่าง
บริเวณหน้าแข้ง
กลไกลการเกิด
ในภาวะปกติภายในช่องท้องกล้ามเนื้อจะมีความดันอยู่ในช่วง 0-8 mmHg เมื่อเกิดการบาดเจ็บ ร่างกายจะตอบสนองต่อปฏิกิริยาการอักเสบ โดยกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic never) ให้หลั่งสารฮิสตามีน (Histamine) คอมพลีเมนต์โปรตีน (Complement proteins) ไคนิน (Kinnis) และพรอสตาแกลนดินส์ (Prostaglandin) สารสื่อกลางเหล้านี้มีผลให้หลอดเลือดขยายตัว ทำให้มีอาการแดงร้อน หลอดเลือดสูญเสียความสามารถในการซึมผ่าน (Permeability) ให้มีการซึมผ่านของของเหลวและโปรตีนออกนอกหลอดเลือดไปยังพื้นที่ว่างระหว่างเนื้อเยื่อ ทั้งมีการกระตุ้นเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟิลและโมโนไซต์ ทำให้มีของเหลวภายนอกหลอดเลือด หากภาวะนี้ยังคงเกิดอยู่เป็นเวลานานจะทำให้เนื้อเยื่อบริเวณดังกล่าวเกิดอาการบวม ส่งผลให้ความดันภายใน่องกล้ามเนื้อ Muscle compartment เพิ่มขึ้น
เมื่อมีความดันในช่องกล้ามเนื้อประมาณ 20 mmHg ทำให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง
ความดันในช่องกล้ามเนื้อมากกว่า 30 mmHg เกิดการขาดเลือดและออกซิเจนเฉพาะแห่ง เรียกการขาดเลือดลักษณะนี้ว่า "Volkmann's ischemia" เกิดภาวะนี้จะถือเป็น "วรจรแห่งความชั่วร้าย (Vicious cycle)" วรจรนี้ใช้ระยะเวลาอย่างน้อย 12 ชั่วโมง หากไม่ได้รับความช่วยเหลือภายใน 48-72 ชั่วโมง ส่งผลให้เกิดการตายของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ โดยกล้ามเนื้อที่ตายจะไม่สามารถคืนสู่สภาพเดิมได้ เกิดการสูญเสียอวัยวะ
อาการและการแสดง
7Ps
Pain
พบบ่อยที่สุด
มีความดันในช่องกล้ามเนื้อปิดประมาณ 20-30 mmHg
อาการปวดที่ขาดเลือดไปเลี้ยง
ปวดลึก ไม่สามารถบอกตำแหน่งที่ปวดได้
อาการปวดไม่สัมพันธ์กับกระดูกที่หัก
ปวดมากถ้ายืดกล้ามเนื้อ
Parethesia
ระบบประสาทตอบสนองต่อการขาดเลือด
อาการชารู้สึกเจ็บปวดลดลง
ความไวต่อการสัมผัสลดลง
สูญการสัมผัส
Pallor
อาการผิวหนังส่วนปลายซีด
ผิวหนังซีดและเย็น
ในรายที่อาการรุนแรง
มีอาการคล้ำเขียว(Cyanosis)
บ่งชี้การอุดตั้นของหลอดเลือดแดง
พบที่
อวัยวะส่วนปลาย
อวัยวะส่วนที่ต่ำกว่าตำแหน่งที่บาดเจ็บ
Paralysis
อาการอ่อนแรงหรืออัมพาต
เกิดจากเส้นประสาทถูกทำลาย
ทำให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวอวัยวะนั้นได้
Pulselessness
อาการคลำชีพจรไม่ได้
เป็นอาการทแสดงที่ช้ามาก
พบในรายที่มีอาการรุนแรง
หลอดเลือดแดงฝอยไม่สามารถไปเลี้ยงเนื้อเยื่อได้
Polar temperature
อาการเย็น
อวัยวะส่วนปลายเย็น
Puffiness
อาการบวม ตึง
อวัยวะส่วนปลายบวมตึง
การตรวจวินิฉัย
การซักประวัติที่บ่งชี้การเกิดกระดูกหัก และอาการสำคัญก่อนมาโรงพยาบาล
การตรวจร่างกาย
ประเมินรูปร่างลักษณะของอวัยวะที่มีกระดูกหัก
อาการบวม
เลือดคั่ง
อาการบิด โก่ง โค้ง ผิดรูปของกระดูกที่หัก
ความเจ็บปวดบริเวณที่มีกระดูกหัก
ประเมินจาก
ตำแหน่ง
ลักษณการปวด
ปัจจัยที่มีผลต่อการปวด
ระยะเวลาที่ปวด
ระดับความรุนแรงของอาการปวด
ประเมินการทำงานของระบบประสาท และการไหลเวียนเลือดที่ไปเลี้ยง
อวัยวะส่วนปลายที่มีกระดูกหัก
ประกอบด้วย
7Ps
Capillary filling time หรือ Blanching test
การถ่ายภาพทางรังสี
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computerized tomography, CT scan)
Magnetic resonance imaging (MRI)
การวัดแรงดันใน Compartment
ใช้เครื่องมือในการวัด Tissue pressure ของ Compartment
มีพยาธิสภาพ
Stryker intra-compartmental pressure
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่ออ่อน (Soft tissue injury)
การเกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะรอบ ๆ กระดูกที่หัก
กล้ามเนื้อ
หลอดเลือด
เส้นประสาท
เอ็น
การติดเชื้อของแผล (Wound infection) หรืออาจเกิดการติดเชื้อของกระดูก (Osteomyelitis)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดภายหลัง
กระดูกติดผิดรูปไปจากเดิม (Malunion)
กระดูกติดช้ากว่าเวลาที่ควรจะติด (Delayed union)
กระดูกไม่ติด (Non-union)
กระดูกไม่ติด (Non-union)
ภาวะแทรกซ้อนจากการไม่ได้ใช้งาน (Disuse syndrome)
ข้อติด (Joint stiffness)
กล้ามเนื้อลีบ (Atrophy of muscle)
เส้นประสาทได้รับความเสียหายอย่างถาวร ทำให้รู้สึกชา อ่อนแรง