Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล นายวีรพล คุณธรรม(603101089) -…
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
นายวีรพล คุณธรรม(603101089)
การเสริมสร้างพลังอานาจ (Empowerment)
การเสริมสร้างพลังอานาจ เป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคคล โดยผู้บังคับบัญชาถ่ายโอนอานาจ ให้อิสระในการตัดสินใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
กรีสเลย์ และคิง (Greasley & King, ๒๐๐๕) กล่าวว่า ความหมายของการเสริมสร้างพลังอานาจ มีความสัมพันธ์กับแนวคิดของอานาจ (Concept of power) ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเน้นถึง การควบคุม (Control) การปกครอง (Hierarchy) และการควบคุมอย่างเคร่งคัด (Rigidity)
คอนเจอร์ และคานูโก (Conger & Kanungo, ๑๙๘๘) เน้นถึงการเสริมสร้างพลังอานาจด้านจิตใจ โดยการขจัดความรู้สึกไร้อานาจของบุคคล ให้มีความรู้สึกมั่นใจในการทางาน
ความสาคัญของการเสริมสร้างพลังอานาจการเสริมสร้างพลังอานาจเป็นการแบ่งปันอานาจระหว่างผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกคนมีความสามารถที่จะไปถึงเปูาหมายของงานหรือขององค์กร
เทคนิคการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ๑. การเจรจาต่อรอง๒. การตัดสินใจแก้ไขปัญหา๓. การบริหารเวลา๔. การบริหารความขัดแย้ง๕. การเสริมพลังอานาจ
การบริหารความขัดแย้ง
สาเหตุของความขัดแย้ง๑. ผลประโยชน์๒. บทบาทไม่ชัดเจน๓. เป้าหมายการทางาน๔. อำนาจ๕. การเปลี่ยนแปลง
ประเภทของความขัดแย้ง
๑.ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับสายงานบังคับบัญชา
๒.ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในระดับเดียวกันซึ่งต่างฝ่ายต่างก็มีอำนาจตามตำแหน่ง (Authority) ของตนเอง
๓. ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่งกับ ต่างระดับต่างสายงานบังคับบัญชา
การบริหารเวลา
ระบบการบริหารเวลา (Time Management System) ควรดาเนินการตามลาดับ ๓ ขั้นตอน
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
การวางแผน (Planning)
เทคนิคการบริหารการใช้เวลาที่มีประสิทธิภาพ
๑.จดบันทึกการใช้เวลาประจาวันไว้อย่างสม่ำเสมอ
๒.วิเคราะห์สาเหตุของการรบกวนเวลาหรือการสูญเสียเวลาไปโดยไม่จาเป็นจากข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ในแต่ละวัน ๓. ปรับปรุงข้อบกพร่องหรือสาเหตุที่ทาให้เสียเวลาตามที่วิเคราะห์ได้
การตัดสินใจ (Decision making)การตัดสินใจ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล บนพื้นฐานของกฎเกณฑ์
ความสำคัญของการตัดสินใจผู้บริหารอาจต้องตัดสินใจหลายๆ ครั้งเมื่อเปรียบเทียบเวลาในการปฏิบัติภารกิจทั้งหมด การตัดสินใจเป็นเครื่องชี้วัดความสามารถ คุณภาพและประสิทธิภาพของผู้นำ
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)การเจรจาต่อรองเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ เป็นกระบวนการที่ใช้ในการจัดการหรือลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น หรือหาข้อตกลงที่เป็นที่พอใจของทั้งสองฝ่าย
กระบวนการเจรจาต่อรอง (The negotiation process)
๑. ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
๒. ขั้นกาหนดกฏกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
๓. ขั้นทาความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (clarification and justification)
๔. ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา ( bargaining and problem solving)
๕. ขั้นจบการเจรจาและนาไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)