Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
น้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE) - Coggle…
น้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
(Amniotic fluid embolism/AFE)
ลักษณะเฉพาะ
hypoxia
consumptive coagulophathy
hypotension
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือของมารดา จะเข้าไปในหลอดลมฝอยในปอดแล้วไปอุดกั้นหลอดเลือดดำที่ปอด ทำให้ร่างกายต่อต้านสารประกอบน้ำคร่ำ ทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานของระบบหายใจ ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ปัจจัยส่งเสริม
การเร่งคลอด ใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคน
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
อาการและอาการแสดง
หนาวสั่น (chill)
เหงื่อออกมาก
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
dyspnea เกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีทันใด cyanosis
pulmonary edema
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
low blood pressure
ชัก
unconscious และเสีชีวิตในเวลาต่อมา
ถ้าอาการนานกว่า 1 hr. ผู้คลอดยังมีชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกการแข็งตัวของเลือดเสียไป และเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรง หากไม่ได้รับการแก้ไขภาวะการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีพอ
การรักษา
ถ้าทารกยังไม่คลอด ประเมิน FHR และรีบให้การช่วยเหลือโดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องอย่างเร่งด่วน
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่ำ เช่น Dopamine, Norepinephrine, Epinephrine
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (DIC) โดยให้ยา Heparin
แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ โดยให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ เพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด พลาสมา และสารไฟบริโนเจน แก้ไขภาวะสารไฟบริโนเจนในเลือดต่ำ หลังจากได้รับบริจาคอาจให้ยากระตุ้นหัวใจ เช่น Dopamine
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ให้นอน Fowler's position ให้ออกซิเจน 100% และถ้ามีระบบหายใจล้มเหลวให้ใส่ท่อช่วยหายใจและเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด อาจมีการชั่งน้ำหนักของผ้าอนามัย 1 กรัม เท่ากับ ปริมาณการเสียเลือด 1 ml.
ให้ยา Oxytocin หรือ methergin ทางหลอดเลือดดำ
การให้ยา
หาก PPH ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก/คลึงมดลูกตลอดเวลา หากไม่ได้ผลควรพิจารณาตัดมดลูกออก
ถ้าทารกยังมีชีวิตอยู่ ให้ C/S โดยด่วน
Fresh whole blood, FFp, Platelet concentrated แก้ไขภาวะ fibrinogen ในเลือดต่ำ/เพิ่ม blood volume
Isoprenaline 0.1 gm. IV เพื่อช่วยให้การไหลเวียนของเลือดในปอดและการทำงานของหัวใจดีขึ้น
Hydrocortisone 1 gm. IV drip ช่วยลดภาวะหดเกร็งของหลอดเลือดแดงฝอยของปอดทำให้การดูดซึมกลับของสารน้ำในเนื้อเยื่อต่างๆดีขึ้น
Digitalis ช่วยให้หัวใจบีบตัวช้าลง แรงขึ้น เลือดออกจากหัวใจเพิ่มขึ้น
Morphine ลดการคั่งของเลือดดำในปอด อาการหอบและเขียว
ถ้าผู้คลอดรอดชีวิต ติดตามแก้ไขภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น Pneumonia, Renal failure, Sheehan's syndrome
การพยาบาล
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด โดยคำนึงถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด มักพบในระยะของการคลอดและทันทีหลังคลอด
ถ้ามีภาวะชักเกร็งโดยไม่มี HT มาก่อนมีภาวะเขียวทั้งตัว
จัดให้นอนท่า fowler
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรือ C/S
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพ ในรายที่เกิดหัวใจล้มเหลว (cardiac arrest)
ใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3 วันแรก ภายใต้การดูแลใน ICU
ดูแลและให้กำลังใจต้อครอบครัว ถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต
การป้องกัน
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยการเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ
จัดให้นอนท่าศีรษะสูง พร้อมทั้งให้ออกซิเจน 6-8 LPM ทางหน้ากาก
สังเกตอาการในผู้คลอดที่ถุงน้ำแตกแล้วและมดลูกมีการหดรัดตัวรุนแรงร่วมกับมีการฉีกขาดของผนังมดลูก, ปากมดลูก
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด พักได้น้อย ควรรายงงานแพทย์เวรทราบทุกครั้ง
ไม่ควรทำ membranes stripping จะทำให้หลอดเลือดดำบริเวณปากมดลูกด้านในฉีกขาด
การตรวจภาวะรกเกาะต่ำ ควรทำด้วยความระมัดระวัง จะทำให้เกิดการแยกของรกจากผนังมดลูกด้านริมรกทำให้เส้นเลือดดำที่ขอบรกจะฉีกขาดได้
การเจาะถุงน้ำคร่ำควรทำด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
ไม่เจาะถุงน้ำคร่ำก่อนปากมดลูกเปิดหมด
ให้ oxytocin ด้วยความระมัดระวัง ไม่ควรเร่ง
ผลกระทบ
มารดา
เสียชีวิตจากการเสียเลือด ช็อค อาจเกิดขึ้นใน 1 hr. หลังเริ่มมีอาการ
ผู้รอดชีวิตอาจมีอาการทางระบบประสาท
ทารก
มารดาที่หัวใจและหยุดทำงาน โอกาสรอดของทารกมีค่อนข้างน้อย
เกือบครึ่งของทารกที่รอด จะมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท