Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดโดยหัตถการ - Coggle Diagram
การบำบัดโดยหัตถการ
การเย็บแผล (Suture)
- เย็บแผลโดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ (interupted)
- เย็บแผลโดยใช้ไหมต่อเนื่อง (continuous interupted)
-
-
-
ห้ามใช้ Xylocaine with adrenaline โดยเด็ดขาดถ้าใช้ต้องแพทย์สั่งและห้ามเด็ดขาดคือบริเวณนิ้วมือเท้าใบหูอวัยวะเพศชาย nipple
-
- ตรวจความเรียบร้อยของแผลดูตำแหน่งที่มีเลือดออกผิดปกติเพื่อป้องกันการเกิด Hematoma ในภายหลังตรวจสอบได้โดยใช้สำลีชุบ NSS เช็ดคราบเลือดออกให้หมดแล้วสังเกตดูว่ามีเลือดออกอยู่หรือไม่
-
-
- ปิดด้วยพลาสเตอร์ใสตามแนวขวางของกล้ามเนื้อผ้าผู้ป่วยแพ้พลาสเตอร์ใสให้เปลี่ยนชนิดพลาสเตอร์
-
-
-
•ในกรณีที่ไม่แน่ใจว่าติดสนิทดีหรือยังให้ตัวไหมอันเว้นอันไปก่อนถ้าแผลแห้งติคดีอาจพิจารณาตัดทั้งหมด แต่ถ้าไม่ติดสนิทนัดตัดในวันถัดไป
-
-
-
•ตรวจดูแผลอีกครั้งหากมีเนื้อตายขอบแผลกระรุ่งกระดิ่งให้ใช้กรรไกรตัดเนื้อเล็มเศษเนื้อตายและตัดเล็มขอบแผลให้เรียบแผลที่ใบหน้าห้ามตัดเนื้อเยื่อ)
-
-
•การสนด้าย, ไหมเย็บสนเข้าที่รูเข็ม (ในกรณีที่ไม่มีไหมติดเข็ม)
-
-
•ปล่อย needle holder จากโคนเข็มมาจับที่ปลายที่โผล่พ้น skin ออกมา (ถ้าจับปลายแหลมเข็มจะซื้อและงอได้) แล้วหมุนเข็มตามโค้งของเข็มจนกระทั่งโคนเข็มหลุดจากผิวหนัง
•ใช้มือที่ไม่ถนัดจับโคนเชือกไว้มืออีกข้างจับด้ายรูดออกไปแล้วใช้ needle holder ผูกเงื่อนตาย (ขอบแผลต้องแนบชิดกันพอดี)
-
-
-
มือที่ถนัดจับกรรไกรตัดไหมสอดกรรไกรด้านที่มีปลายแหลมเข้าไปโดยอ้ากรรไกรเพียงเล็กน้อยเท่านั้นกดผิวหนังด้านนอกชิดรูที่ด้ายผ่านเพื่อให้ด้ายส่วนที่จมอยู่โผล่ขึ้นมาให้กรรไกรขนานกับผิวหนังบริเวณแผลแล้วตัดส่วนที่ชิดกับผิวหนัง
ขณะตัดไหมต้องมองเห็นปลายกรรไกรตลอดเวลาเพื่อให้แน่ใจว่ากรรไกรจะไม่ไปตัดเนื้อเยื่ออื่นดึงไหมที่ตัดแล้วเข้าหาแผลเพื่อป้องกันแผลแยกขณะดึงออก
-
การดูแลดามกระดูก
-
∆ รู้สึกปวดกระดูกหรือรอบ ๆ บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง โดยอาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับแรงกดที่บริเวณดังกล่าว
-
-
-
-
-
-
ข้อเคล็ด
ประคบด้วยน้าเย็นหรือน้าแข็งทันที และประคบหลายๆครั้งติดต่อกัน แต่ละครั้งนาน5-10 นาที และ พัก 2-3 นาที เพื่อลดอาการปวด บวม และระหว่างพักให้สังเกตอาการบวมด้วย ถ้าอาการบวมไม่เพิ่มขึ้น ก็ หยุดประคบเย็นได้ ถ้ายังมีอาการบวมอยู่ให้ประคบต่อจนครบ 24 ชั่วโมงแรก ให้บริเวณข้อนั้นอยู่นิ่ง โดยพันผ้า ยืดและยกสูงไว้
ภายหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว ถ้ายังมีอาการบวมให้ประคบด้วยน้าร้อน หรือนวดด้วยยาหม่อง น้ามัน ระกา GPO ปาล์มฯลฯ ถ้ามีอาการปวดหรือบวมมาก ให้รีบไปพบแพทย์
ข้อเคลื่อน
ให้ข้อส่วนนั้นอยู่นิ่งที่สุด โดยการใช้ผ้าพัน ห้ามดึงข้อให้เข้าที่ ประคบด้วยความเย็น เพื่อลดอาการปวด และบวมลง รีบนาส่งโรงพยาบาล
กระดูกหัก
1.ให้ผู้บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ ประคองและจับส่วนที่บาดเจ็บอย่างมั่นคง อย่าพยายามเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บโดยไม่ จาเป็น หรือจนกว่าส่วนของกระดูกที่หักจะได้รับการเข้าเฝือกแล้ว
- ใส่เฝือกชั่วคราว โดยใช้วัสดุที่หาง่าย เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษแข็ง ไม้ไผ่ เป็นต้น ( ถ้าเป็นกระดูก ชิ้นใหญ่ เช่น กระดูกโคนขา อาจใช้ขาข้างดีเป็นตัวยึดก็ได้) และก่อนเข้าเฝือก ควรใช้ผ้าสะอาดพันส่วนที่หักให้ หนาพอสมควร หรือทาการห้ามเลือดก่อน ถ้ามีเลือดออกมาก
- ให้ยาแก้ปวดหากปวดแผลมาก เช่น พาราเซตามอล และห่มผ้าให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
- รีบนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล ซึ่งการเคลื่อนย้ายผู้ที่บาดเจ็บต้องทาอย่างระมัดระวัง โดยให้ส่วนที่หัก เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
- พันผ้ายืดไม่ให้เคลื่อนไหว ระวังอย่าพันให้แน่นจนเกินควร เพราะจะทาให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย ไม่ได้ ซึ่งเป็นอันตรายมาก ถ้าเป็นปลายแขน หรือมือ ใช้ผ้าคล้องคอ
4.ถ้ากระดูกหักโผล่ออกมานอกเนื้อ อย่าดันกลับเข้าที่เดิมเด็ดขาด เพราะจะทาให้เชื้อโรคและสิ่งสกปรกจาก ภายนอกเข้าไปในแผลส่วนลึกได้ ให้หาผ้าสะอาดคลุม หรือปิดบาดแผลไว้
อุดกลั้นทางเดินหายใจ
1.ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดความรู้ เช่น ในเด็กมักมีสิ่งแปลกปลอมต่างๆ เข้าจมูก เข้าปาก เข้าหู โดยไม่ทราบอันตรายที่จะ เกิดขึ้น
-
3.เหตุสุดวิสัย ทางเดินหายใจอุดตันได้ เนื่องจากการที่แมลงเข้าไปในจมูก หรือใน รูหู เช่น แมลงสาบ เป็นต้น
-
-
-
• หากยังคงมีการอุดกั้นต่อเนื่องหรืออาการอุดกั้นมีความรุน แรงมากข้ึน ให้ขอความช่วยเหลือจาก ระบบ การแพทย์ฉุกเฉินหรือโทร 1669
-
-
-
-