Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาพืชที่ใช้ในการผลิตกระดาษสา - Coggle Diagram
การศึกษาพืชที่ใช้ในการผลิตกระดาษสา
บทที่1 บทนำ
ที่มาเเละความสำคัญของโครงงาน
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย โดยอ้อยถูกนำไปใช้ในการผลิตน้ำตาล. เมื่อผ่านกระบวนการผลิตเเล้ว จะมีเศษวัสดุทิ้งไว้เช่น ชานอ้อย. ซึ่งชานอ้อยมีส่วนประกอบของ เซลลูโลส ที่สามารถนำมาผลิตเยื่อกระดาษได้
กระดาษสาเป็นกระดาษชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากต้นกระดาษสา
ต่อมาได้พัฒนาให้มีลวดลาย เเล้วนำไปเเปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ. เช่น ปกสมุด กระดาษห่อของขวัญ ฯลฯ
ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างมากของไทย โดยถึงฤดูเก็บเกี่ยวเกษตรกรจะเก็บเกี่ยวเเต่ผลจะเหลือเศษวัสดุเช่นฟางข้าว โดยที่ไม่นำไปใช้เเละยังทำลายโดยการเผาทิ้ง
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกาาพืชที่ใช้ในการผลิตกระดาษสาได้ดีที่สุด
ขอบเขตการศึกษา
กระดาษสาที่ผลิตจากชานอ้อยเเละฟางข้าว
ตัวเเปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวเเปรต้น
กระดาษสาจากฟางข้าว
กระดาษสาจากชานอ้อย
ตัวเเปรตาม
คุณภาพของกระดาษสา
ตัวเเปรควบคุม
ปริมาณฟางข้าว
ปริมาณชานอ้อย
ปริมาณสารเคมี
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
ชานอ้อยสามารถใช้ผลิตกระดาษสาได้ดีที่สุด
นิยามศัพท์เฉพาะ
กระดาษสาจากพืช หมายถึง กระดาษสาที่ผลิตจากชานอ้อยเเละฟางข้าว
การผลิต หมายถึง การทำกระดาษสาจากฟางข้าวเเละชานอ้อย
คุณภาพของกระดาษสา หมายถึง ลักษณะที่ดีของกระดาษสา โดยวัดจากน้ำหนัก ความหนา ความต้านต่อแรงดึง
บทที่2 เอกสารเเละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หัวข้อเรื่อง
การศึกษาพืชที่ใช้ในการผลิตกระดาษสา
สมมติฐาน
ชานอ้อยสามารถใช้ในการผลิตได้ดีที่สุด
นิยามศัพท์เฉพาะ
กระดาษสา หมายถึง กระดาษที่ผลิตจากชานอ้อยเเละฟางข้าว
การผลิต หมายถึง การทำกระดาษสาจากชานอ้อยเเละฟางข้าว
คุณภาพของกระดาษสา หมายถึง ลักษณะที่ดีของกระดาษสาโดยวัดจากน้ำหนัก ความหนา ความต้านเเรงดึง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กระดาษสา เป็นกระดาษชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากต้นปอสา ซึ่งเป็นพืชเส้นใยในตระกูลเดียวกับหม่อนและขนุน
ฟางข้าว เป็นส่วนของต้นข้าวที่เหลือหลังการเก็บเกี่ยว เเละนำเมล็ดออกเเล้ว
เเบ่งออกเป็น3ประเภท
ฟางข้าวจากการเกี่ยวมือ
ฟางข้าวที่เกี่ยวจากมือ เเละนวดด้วยรถนวดข้าว
ฟางข้าวจากรถเกี่ยวข้าว
องค์ประกอบ
องค์ประกอบทางเคมี
๐เนื้อเซลล์:21%
๐ผนังเซลล์:79%
๐เซลลูโลส:33%
๐เฮมิเซลลูโลส:26%
๐ลิกนิน:7%
๐ซิลิกา:13%
ประโยชน์จากฟางข้าว
เช่น
ใช้เป็นอาหารหยาบสำหรับเลี้ยงโค กระบือ
ใช้ทำปุ๋ยหมัก
ใช้เป็นเชื้อจุดไฟ
ใช้ผลิตเยื่อกระดาษ
ใช้ทำเป้นที่มุงหลังคา
ชานอ้อย เป็นวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการการหีบอ้อยเพื่อผลิตน้ำตาลจากอ้อย
โซดาไฟ/โซเดียมไฮดรอกไซด์
มีสถานะเป็นของเเข็งสีขาวหรืออาจอยู่ในรูปของเหลวที่เป็นสารละลาย
ประโยชน์ของโซดาไฟสามารถใช้ในรูปของโซดาไฟก้อนเเละโซดาไฟเหลวในด้านต่างๆเช่น
๐เป็นสารตั้งต้นในการผลิตโซดาไฟเหลว
๐ใช้ฟื้นสภาพของเรซินของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ
๐ใช้ปรับสภาพของน้ำให้เป็นด่าง-กรด
แป้งมันสำปะหลัง
เป็นแป้งที่ได้จากมันสำปะหลัง มีลักษณะสีขาว เนื้อเนียน เมื่อโดนละลายกับน้ำเเละไฟอ่อนปานกลาง จะเหนียวหนืดติดภาชนะ
การทำกระดาษสา
๐การเตรียมวัตถุดิบ
๐การทำเป็นเยื่อ
๐การทำเป็นกระดาษ
๐การลอกกระดาษเเละตกเเต่งเพิ่มเติม
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิขัณฑ์ อรรณพานุรักษ์. (2543) ได้ศึกษาการปรับปรุงกระบวนการผลิตเยื่อเเละกระดาษจากปอสาที่มีการตรวจสอบคุณภาพเยื่อเเละกระดาษสำหรับค่าความเเข็งเเรงเเละคุณสมบัติทางกายภาพอื่น
บทที่3 อุปกรณ์เเละวิธีการดำเนินการ
วัสดุอุปกรณ์เเละการดำเนินการ
การทำกระดาษสาจากฟางข้าว
อุปกรณ์
1.ฟางข้าว 2.น้ำสะอาด 3.บีกเกอร์
4.หม้อสำหรับต้ม 5.เครื่องชั่ง 6.เครื่องปั่น
7.สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 8.กรรไกร 9.เเม่พิมพ์
10.ตู้อบ 11.ผ้าขาวบาง 12.เเป้งมันสำปะหลัง
วิธีทำการทดลอง
1.ชั่งฟางข้าว200กรัม จากนั้นนำฟางข้าวมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ
2.ต้มน้ำ1ลิตร จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์10%ลงไป
3.ใส่ฟางข้าวที่ต้มเเล้วลงไป เเล้วต้มฟางข้าวเป็นเวลา1ชั่วโมง
4.กรองฟางข้าวที่ต้มเเล้วด้วยผ้าขาวบาง เเล้วล้างสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซน์ออกให้สะอาด
5.นำฟางข้าวที่ต้มเเล้วไปใส่ในเครื่องปั่น เเล้วปั่นให้ละเอียด
6.ชั่งแป้งมันสำปะหลัง ปริมาณ15กรัม เเละนำไปละลายกับน้ำสะอาด200มิลลิลิตร
7.นำฟางข้าวที่ปั่นละเอียดเเล้วไปผสมกับน้ำแป้งที่เครียมไว้เเล้ว เเล้วต้ม จากนั้นคนให้เข้ากัน
8.เทใส่พิมพ์
9.นำไปอบด้วยอุณหภูมิ60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24ชั่วโมง
10.ลอกกระดาษออกจากเเม่พิมพ์
การทำกระดาษสาจากชานอ้อย
อุปกรณ์
1.ชานอ้อย 2.น้ำสะอาด 3.บีกเกอร์
4.หม้อสำหรับต้ม 5.เครื่องชั่ง 6.เครื่องปั่น
7.สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 8.กรรไกร 9.เเม่พิมพ์
10.ตู้ดูดความชื้น 11.ผ้าขาวบาง 12.เเป้งมันสำปะหลัง
วิธีทำการทดลอง
1.ชั่งชานอ้อย 200 กรัม
2.ต้มน้ำ1ลิตร จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 10%]ลงไป
3.ใส่ชานอ้อยที่หั่นไว้เเล้วลงไป เเล้วต้มชานอ้อยเป็นเวลา 1ชั่วโมง
4.ล้างสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ออกให้สะอาด
5.นำชานอ้อยที่ต้มเเล้วมาสับหยาบเเละปั่น อาจจะเหลือเส้นใยอยู่บางส่วน
6.ชั่งแป้งมันสำปะหลัง ปริมาณ 15 กรัม เเละนำไปละลายกับน้ำสะอาด200มิลลิลิตร
7.นำชานอ้อยที่ปั่นละเอียดเเล้วไปผสมกับน้ำแป้งที่เตรียมไว้ เเล้วต้ม จากนั้นคยให้เข้ากัน
8.เทใส่พิมพ์
9.นำไปอบด้วยอุณหภูมิ60องศาเซลเซียส เป็นเวลา24ชั่วโมง
10.ลอกกระดาษออกจากเเม่พิมพ์
การทดสอบคุณภาพของกระดาษสา
อุปกรณ์
1.กระดาษสาจากฟางข้าว 2.กระดาษสาจากชานอ้อย
3.กระดาษสา 4.ตัวหนีบ 5.กรรไกร 6.ไมโครมิเตอร์
7.เครื่องชั่งสปริง 8.เครื่องชั่ง
วิธีการทำการทดลอง
ขั้นตอนที่1การวัดจากน้ำหนักมาตรฐาน
1.นำกระดาษสาจากฟางข้าว ชานอ้อย เละกระดาษสาทั่วไป มาตัดให้เท่ากัน
2.นำกระดาษสาทั้ง3เเผ่นไปชั่งที่เครื่องชั่งที่มีความละเอียด0.001กรัม
3.อ่านค่าเเละบันทึกผล
ขั้นตอนที่2 วัดจากความหนา
1.นำกระดาษสาทั้ง3เเบบมาตัดให้เท่ากัน
2.นำกระดาษสาทั้ง3เเบบมาวัดความหนาโดยเครื่องวัดความหนา
3.อ่านค่าเเละบันทึกผล
ขั้นตอนที่3 วัดจากความต้านเเรงดึง
1.นำกระดาษสาทั้ง3เเบบมาตัดให้เท่ากัน
2.นำกระดาษสาไปเจาะรูห่างจากขอบประมาณ0.5เซนติเมตร
3.นำกระดาษสาไปหนีบกับตัวหนีบที่เตรียมไว้
4.นำเครื่องชั่งสปริงเกี่ยวผ่านรูที่เจาะไว้ เเล้วออกแรงดึงจนกวากระดาษสาจะขาด
5.อ่านค่าแรงดึงเเละบันทึกผล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทำกระดาษสาจากฟางข้าวเเละชานอ้อย เเละทำการทดสอบคุณภาพ
การวิเคราะห์ผล
การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการวิเคราห์ผลโดยการบรรยายเละหาค่าเฉลี่ยการทดลอง
บทที่4 ผลการดำเนินการ
ผลการทดลอง
การวัดน้ำหนักของกระดาษสา
กระดาษสาทั่วไป (1.)0.1804 (2.)0.1818 (3.)0.1750
กระดาษสาจากชานอ้อย (1.)0.6589 (2.)1.2324 (3.)0.4933
กระดาษสาจากฟางข้าว (1.)1.3345 (2.)1.0942 (3.)0.9861
การวัดความหนาของกระดาษสา
กระดาษสาทั่วไป (1.)0.10 (2.)0.08 (3.)0.08
กระดาษสาจากชานอ้อย (1.)0.11 (2.)0.26 (3.)0.22
กระดาษสาจากฟางข้าว (1.)0.34 (2.)0.26 (3.)0.20
การวัดจากความต้านแรงดึงของกระดาษสา
กระดาษสาทั่วไป (1.)4.5 (2.)4 (3.)4
กระดาษสาจากชานอ้อย (1.)8 (2.)8.5 (3.)9
กระดาษสาจากฟางข้าว (1.)9.5 (2.)8 (3.)9
บทที่5 สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองการทำกระดาษสาจากฟางข้าวเเละชานอ้อยได้กระดาษสาจากฟางข้าวที่มีลักษณะคือผิวสัมผัสเเข็ง หยาบเล็กน้อย. กระดาษสาที่ได้จากชานอ้อยจะมีลักษณะผิวสัมผัสค่อนข้างเเข็ง มีความหยาบ
จากการนำไปทดสอบ กระดาษสาจากชานอ้อยมีคุณภาพใกล้เคียงกับกระดาษสาทั่วไปมากที่สุด
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลองการทำกระดาษสาจากฟางข้าวเเละชานอ้อยได้กระดาษสาจากฟางข้าวที่มีลักษณะคือผิวสัมผัสเเข็ง หยาบเล็กน้อย. กระดาษสาที่ได้จากชานอ้อยจะมีลักษณะผิวสัมผัสค่อนข้างเเข็ง มีความหยาบ
จากการนำไปทดสอบ กระดาษสาจากชานอ้อยมีคุณภาพใกล้เคียงกับกระดาษสาทั่วไปมากที่สุด จึงเป็นไปตามสันนิษฐานที่ว่า”ชานอ้อยสามารถใช้ผลิตกระดาษสาได้ดีที่สุด”
ข้อเสนอเเนะ
1.ควรทดสอบคุณสมบัติของกระดาษสาเพิ่มเติม เมื่อจะนำไปประดิษฐ์หรือสร้างสรรค์ผลงานอื่นๆ
2.ควรปรับปรุงการทำกระดาษสาให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริง เพื่อคุณภาพที่ดีของกระดาษสา