Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 8
สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การใช้สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัย
ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การใช้สถิติพรรณนาในการวิจัย
เชิงความสัมพันธ์
ศึกษาเพื่อทราบความสัมพันธ์
ระหว่างข้อเท็จจริงหรือตัวแปรต่างๆ
ประเภทของการวิจัยเชิงความสัมพันธ์
การศึกษารายกรณี
เปรียบเทียบผลเพื่อศึกษาเหตุ
การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์
การใช้สถิติพรรณนา
ในการวิจัยเชิงพัฒนา
ดำเนินการค้นคว้าพัฒนาผลผลิต
นวัตกรรม และทดลองประเมินผล
รูปแบบการวิจัยและพัฒนา
ทางการส่งเสริมและพัฒนา
การเกษตร
เตรียมรองรับปัญหาระยะกลาง-ยาว
งานวิจัยแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
การสร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม
ขยายผลวิจัย
การใช้สถิติพรรณนา
ในการวิจัยเชิงสำรวจ
เน้นเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ให้โดยตรง
ประเภทของ
การวิจัยเชิงสำรวจ
จำแนกตามระยะเวลา
การวิจัยแบบตัดขวาง
การวิจัยแบบระยะยาว
จำแนกตามวัตถุประสงค์
การสำรวจเชิงพรรณนา
การสำรวจเชิงอธิบาย
จำแนกตามกลุ่มที่ทำการวัด
ประชากร
กลุ่มตัวอย่าง
จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
การสัมภาษณ์
ประเภทของสถิติพรรณนา
เพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
เป็นการหาค่ากลางของข้อมูลเพื่อใช้เป็นตัวแทน
ของข้อมูลทั้งหมด
ค่ากลางพิจารณาจากวัตถุประสงค์การวิจัย
ลักษณะการแจกแจงความถี่ที่นิยมใช้ ได้แก่
ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม
การแจกแจงความถี่
เป็นสถิติที่สรุปหรือแจกแจงลักษณะ
ของตัวแปรในกลุ่มที่ศึกษา
สถิติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การแจกแจงความถี่
การคำนวณหาค่าร้อยละ
การวัดการกระจายของข้อมูล
เป็นการอธิบายถึงความแตกต่างของข้อมูล
การวัดการกระจายที่นิยมใช้ในงานส่งเสริม ได้แก่ พิสัย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
สถิตินอนพาราเมตริกเพื่อการวิจัย
ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับ
วิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม
กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน
McNemar test
Sign test
Wilcoxon Signed-ranks test
การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง
สองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน
Mann-Whitney U Test
Kolmogorov-Smirnov Test
Wald-Wolfowitz Test
Moses Extreme Reactions Test
สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์
กลุ่มตัวอย่างมากกว่าสองกลุ่ม
กลุ่มตัวอย่างที่มีความสัมพันธ์กัน
กลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระต่อกัน
สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว
ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ใช้ได้ทั้งข้อมูลที่มาจากประชากรปกติ
หรือไม่ปกติ
สถิติที่นิยมใช้
การทดสอบทวินาม
การทดสอบไควสแควร์
การทดสอบ Kolmogorov-Smirnov