Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.ท.ฟรอยด์, ทฤษฎีการพยาบาลของเพ็พพลาว, 1). ระดับจิตไร้สำนึก (Unconscious…
5.ท.ฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของซิกมันต์ ฟรอยด์
1.ปาก (Oral) พัฒนาการในขั้นนี้อยู่ในช่วงอายุ 0-1 ปี
2.ทวารหนัก (Anus) อายุ 1-3 ปี
4.ก่อนวัยรุ่น (Latency) พัฒนาการในขั้นนี้อยู่ในช่วงอายุ 6-11 ปี
อวัยวะเพศ (Phallic อายุ 3-6 ปี)
ขั้นวัยรุ่น
ทฤษฎีโครงสร้างของบุคลิกภาพ
Id Ego และ Superego
ทฤษฎีระดับการรับรู้ของจิต
(Levels of Consciousness)
ทฤษฎีการพยาบาลของเพ็พพลาว
ความผิดปกติของพฤติกรรมของบุคคล เกิดจากความล้มเหลวของในการสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น
สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ มีเป้าหมายเพื่อ
ให้ผู้รับบริการเกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิด ความรู้สึกกลับมาสู่ความเป็นจริง โดยอาศัยการพัฒนาในประเด็นดังต่อไปนี้
ทำความเข้าใจตนเอง เพิ่มการยอมรับตนเอง
และเพิ่มมความยอมรับนับถือตนเอง
เข้าใจและยอมรับในตนเอง ปรับปรุงตนเองให้มี
ความสอดคล้องระหว่างความคิด ความรู้สึกและการกระทำ
พัฒนาความสามารถในการเป็นตัวของตัวเอง การพึ่งพาผู้อื่นและการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล สามารถรักและให้ความรักแก่ผู้อื่นได้
พัฒนาความสามารถในการตอบสนองความต้องการให้สำเร็จได้
ภายในขอบเขตของ “ความเป็นจริง” ในชีวิตและสังคมได้
จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ใช้ในการบำบัดทางจิต 3 รายการ คือ (1) การรู้จักและเข้าใจตนเอง
การใช้เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัดทางจิตและ
(3) การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ระยะในการสร้างสัมพันธภาพ เป็น 4 ระยะ ได้แก่
ระยะเริ่มต้น (orientation phase)
เป็นการเริ่มสร้างความไว้วางใจทำงานร่วมกัน เน้นการประเมินปัญหา
ระยะระบุปัญหา (Problem identification phase)
เน้นการประเมินปัญหาและการรับรู้ ความคาดหวังและประสบการณ์ในอดีต
ระยะดำเนินการแก้ปัญหา (Exploitation phase)
เป็นการวางแผนให้การช่วยเหลือตาม เป้าหมายที่กำหนด โดยพยาบาลต้องใช้ความชำนาญและแนวคิดต่าง ๆ เช่นเทคนิคการสื่อสารและการใช้ตนเองเพื่อบำบัด
ระยะสรุปผล (resolution phase)
เป็นระยะยุติสัมพันธภาพในการบำบัด เน้นการช่วยให้ บุคคลสามารถดูแลตนเองได้โดยไม่ต้องได้รับการช่วยเหลือจากพยาบาล เกิดการพัฒนาความสามารถที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ตามอัตภาพ
1). ระดับจิตไร้สำนึก (Unconscious Mind)
2). ระดับจิตก่อนสำนึก (Preconscious)
พัฒนาการทางบุคลิกภาพของอิริคสัน
แบ่งเป็น 8 ขั้นตอน
Trust vs Mistrust การพัฒนาความไว้วางใจ – ความไม่ไว้วางใจ เกิดขึ้นในช่วงแรกเกิด – 1 ปี
Autonomy vs Shame and Doubt การพัฒนาความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ-ความละอายสงสัย ไม่แน่ใจในตนเอง เกิดขึ้นในช่วงอายุ 1-3 ปี
Initiative vs Guilt การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ – ความรู้สึกผิด เกิดขึ้นในช่วงอายุ 3-5 ปี
Industry vs Inferiourity การพัฒนาความขยันหมั่นเพียร-ความรู้สึกมีปมด้อย เกิดขึ้นในช่วงอายุ 5-13 ปี
Indentity vs Role confusion การพัฒนาความมีเอกลักษณ์ในตนเอง – ความสับสนในบทบาทของตนเอง เกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น อายุ 13-20 ปี
Intimacy vs Isolation การพัฒนาความสัมพันธ์ใกล้ชิด –ความอ้างว้าง เกิดขึ้นในช่วงวัยหนุ่มสาวหรือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น อายุ 20-40 ปี
Generativity vs Absorbtion/Stagnation การพัฒนาการเป็นผู้ให้ – การนึกถึงแต่ตนเอง เกิดขึ้นในช่วงวัยกลางคน 40-60 ปี
Ego integrity vs Despair การพัฒนาความรู้สึกมั่นคงในตนเอง – ความสิ้นหวัง เกิดขึ้นในช่วงวัยสูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
3). ระดับจิตสำนึก (Conscious Mind)