Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ, ชื่อนางสาวจิดาภา พุ่มขจร เลขที่ 12 รหัส…
เด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
เป็นโรคที่มีความบกพร่องในการจับเกาะเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ขาดวิตามินดี
ความผิดปกติของการเผาพลาญแคลเซียมจากโรคลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย หรือรับประทานสารที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียมและวิตามินดี เช่น อะลูมิเนียม ไฮดรอกไซด์ บาบิทูเรต
โรคไตชนิดที่ทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง
ขวบปีแรก กะโหลกศีรษะใหญ่ผิดปกติ Sutureปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือกะโหลดนิ่ม หน้าผากนูน
หลังหนึ่งขวบ ขาโก่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
รักษากระดูกหักทั่วไป ให้วิตามินดี รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น รับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาขับปัสสาวะ ยาลดกรด
Bone and joint infection
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบ Morrey ต้องมีอาการ 5ใน6 ดังนี้ T > 38.3 ํ c ปวดข้อ ปวดมากเมื่อขยับข้อ ช้อบวม มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆร่วม ตอบสนองดีต่อการใช้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis พบในเด็กอายุ < 13 ปี มีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาว เช่น tibia, femur มักเป็นตำแหน่งเดียว
สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอกหรืออวัยวะใกล้เคียง แพร่กระจายจากกระแสเลือด
วินิยฉัย
ประวัติ มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขนขาส่วนนั้น เด็กโตบอกตำแหน่งได้ ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ตรวจร่างกาย พบ บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis, ESR, CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นเหตุ
การตรวจทางรังสี พบเนื้อเยื่อบวม
การรักษา ให้ยาปฏิชีวะตามแผนการรักษาของแพทย์ และการผ่าตัดเอาหนอง ชื้นเนื้อ กระดูกตายออก
ภาวะแทรกซ้อน กระดูกเนื้อเยื่อตาย กระทบต่อ physis
septic atthritis
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลีนิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ
ผลแลป เจาะดูดน้ำในข้อ มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR, CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี ultrasound มีภาวะน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
การรักษา ให้ยาปฏิชีวะและการผ่าตัด Arthrotomy and drainage เพื่อระบายหนองหยุดยั้งการทำลายข้อ
สาเหตุ เชื้อเข้าสู่ข้อจากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง เชื้อส่วนใหญ่คือแบคทีเรีย
ภาวะแทรกซ้อน Growth plate ถูกทำลาย ทำให้การเจริญเติบโต ความยาวของกระดูกและการทำหน้าที่เสียไป ข้อเคลื่อน ข้อถูกทำลาย หัวกระดูกสะโพกตายจากการขาดเลือด
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลีนิก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร มีไข้ต่ำตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP, ESR สูง ทดสอบ Tuberculin test ผล +
อาการแทรกซ้อนทากระดูกและข้อ กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรงหรืออัมพาต
อาการและอาการแสดง อาการจะเริ่มแสดงหลังติดเชื้อเมื่อ 1-3 ปี เริ่มที่ metaphysis ของ long bone จะทำลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ เชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลืองและระบบไหลเวียน เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
รักษาโดยให้ยาต้านวัณโรค การผ่าตัดตรวจชิ้นเนื้อ ผ่าตัดระบายหนอง
สาเหตุคือเชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดและเติบโตแพร่กระจายทาง lympho-hematogenous spread
Club foot (เท้าปุก) ข้อเท้ามีลักษณะจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าใน ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
วินิจฉัย รูปร่างเท้าจิกลงบิดเอียงเข้าด้านใน ไมาสามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้ ต้องได้รับการรักษา
การรักษา ใส่เฝือก ผ่าตัดเนื้อเยื่อ ผ่าตัดเชื่อมกระดูก
สาเหตุ พบแต่กำเนิด เริ่มจากระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet) ช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี
สาเหตุเป็นพันธุกรรม เอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับความแบนราบ ปวดฝ่าเท้า รายรุนแรงอาจปวดน่อง เข่าทสะโพก
การรักษา พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
Cerebral Palsy ความพิการทางสมอง เด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายผิดปกติ มีปํยหาด้านการพูดการกิน และอาจรวมไปถึงการควบคุมการหายใจเพื่อเปล่งเสียง
สาเหตุของโรค
ปัญหาระหว่างคลอด สมองกระทบกระเทือน ขาดออกซิเจน
ก่อนคลอด อาจมีการติดเชื้อ มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
Spastic cerebal palsy
Diplegia คือ involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง
การรักษา กายภาพบำบัด ลดความเกร็งโดยใช้ยา การผ่าตัด
Quadriplegia หรือ total body involvement มีทั้งแขนและขาทั้ง2ข้างเท่าๆกัน
Double hemiplegia มีลักษณะ hemiplegia ทั้ง 2ข้าง เพียงแต่ความรุนแรงแต่ละข้างไม่เท่ากัน
Hemiplegia คือพวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่ง
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
การวินิจฉัย ซักประวัติระยะเวลามีก้อนเนื้องอก อาการปวด การตรวจร่างกาย น้ำหนัก ตำแหน่งก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้ำเหลือง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ MRI, CT เพื่อดูเฟสการแพร่กระจายของโรค
การรักษา ตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกันการแพร่กระจายของโรค มีการผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา
อาการและอาการแสดง ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้อ น้ำหนักลด มีไข้ การเคลื่อนไหวของต่ำแหน่งที่ผิดปกติ
Omphalocele เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยมีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ
การรักษา
Conservative ใช้สารละลายฆ่าเชื้อทาถุง ทำให้ผนังแปรสภาพ และทำให้ถุงคลุมได้สมบูรณ์เปลี่ยนสภาพเป็น umbilical hernia การรักษาด้วยวิธีนี้เหมาะกับ omphalocele มีขนาดใหญ่
ผ่าตัด 2วิธี เย็บผนังหน้าท้องปิดเลย และเป็นขั้นตอน
Gastroschisis การมีผนังหน้าท้องแยกจากกัน เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังหน้าท้องภายหลังจากผนังหน้าท้องพัฒนาสมบูณณ์แล้ว เกิดจากการทะลุของ hernia of umbilical cord
วินิจฉัยตอน เมื่อคลอดพบ่าที่หน้าท้องมารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่านผนังถุงของบรรจุ wharton's jelly สายสะดือติดอยู่กับถุง
ชื่อนางสาวจิดาภา พุ่มขจร เลขที่ 12 รหัส 613601013