Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและหลอดเลือด :star:cardiovascular system :star:, 5a84faf9d7030,…
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
:star:cardiovascular system
:star:
กายวิภาคของหัวใจ :<3:
โครงสร้างของหัวใจ
:red_flag:
กว้าง 9 cm ยาว 12 cm และหนา 5 cm
กล้ามเนื้อหัวใจ :red_flag:
ชั้นนอก (Epicardium):
ชั้นเยื่อหุ้มหัวใจ มีไขมันมาก ผนังด้านนอกมีหลอด เลือดนาเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เรียกว่า Coronary artery
ชั้นกลาง (Myocardium):
หนาที่สุด ประกอบขึ้นจาก Cardiac muscle
ชั้นใน (Endocardium):
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิวกล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหัวใจ
ห้องหัวใจ :red_flag:
Left Atrium:
หัวใจห้องบนซ้าย ขนาดเล็ก ผนังบาง หน้าที่รับเลือดที่ฟอกแล้ว (Oxygenated blood) จากปอดที่ลาเลียง มากับหลอดเลือด Pulmonary vein
Left Ventricle:
หัวใจห้องล่างซ้าย ผนัง กล้ามเนื้อหนาที่สุด หน้าที่รับเลือดจาก Left Atrium แล้วสูบฉีดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย โดยส่งไปทางหลอดเลือด Aorta
Right Atrium:
หัวใจห้องบนขวา ขนาด เล็ก ผนังกล้ามเนื้อบาง รับเลือดที่ใช้แล้ว จาก Superior vena cava (เลือดจากหัว และแขน) และ Inferior vena cava (เลือด จากลาตัว และขา)
Right Ventricle
: หัวใจห้องล่างขวา ขนาด เล็ก ช่องภายในเป็นรูปสามเหลี่ยม หน้าที่รับ เลือดจาก Right Atrium แล้วส่งไปฟอกที่ ปอด โดยส่งไปทาง Pulmonary artery
ลิ้นหัวใจ : :red_flag:
Pulmonary valve หรือ Semilunar valve
อยู่ที่โคนของหลอดเลือด Pulmonary artery
ลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่ง เสี้ยว 3 ใบบรรจบกันแต่ไม่ยึดติดกันด้วย chordae tendineae
หน้าที่กั้นไม่ให้เลือดไหลกลับลงสู่ Right Ventricle
Tricuspid valve
อยู่ระหว่างหัวใจห้อง Right Atrium กับ Right Ventricle
ลิ้นหัวใจนี้ฝังตัวอยู่ในผนังหัวใจ ห้อง Ventricle โดยอาศัย chordae tendineae เป็นตัวยืด เพื่อควบคุมการเปิดปิดลิ้น
ป้องกันไม่ให้เลือดใน Ventricle ไหลย้อนกลับขึ้นสู่ Atrium
Bicuspid valve หรือ Mitral valve
อยู่ระหว่างหัวใจห้อง Left Atrium และ Left Ventricle
คล้ายกับ Tricuspid valve แต่มี 2 แผ่น ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อ เกี่ยวพัน chordae tendineae
หน้าที่กั้นไม่ให้เลือดใน Left Ventricle ไหลย้อนกลับขึ้นไปที่ Left Atrium
Aortic valve หรือ Semilunar valve
อยู่ที่โคนของหลอดเลือด Aorta ลักษณะเป็นวงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว
หน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหล ย้อนกลับลงมาใน Left Ventricle
กลไกการเต้นของหัวใจ
:<3:
SA node นำกระแสความรู้สึกได้เอง เพราะมีผู้ให้จังหวะคือ pace marker
เริ่มจาก SA node กระจายความรู้สึกไปให้เอเตรียมซ้าย -->atrium ขวาและซ้าย บีบตัวส่งกระแสประสาทไปยัง AV node ที่ฐานของ atrium ขวา
AV node ส่งความรู้สึกไปไม่ทั่ว Ventricle --> Ventricle ไม่สามารถบีบตัว ก่อนที่ Atrium คลายตัว
บริเวณ AV node มี bundle of his เป็นเส้นใยแยกไป Ventricle ซ้ายและขวา โดยแตกเป็นกิ่งเล็กๆ เรียกว่า purkinje fiber -->กระตุ้นให้ Ventricle บีบตัว พร้อมกัน -->บีบตัวมาก เกิดแรงดันเลือดส่งไปตามกระแสเลือดทั่วร่างกาย
กายวิภาคของหลอดเลือด
: :check:
Arterial system
:red_flag:
มีทิศทางออกจากหัวใจไปยังปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกาย
โครงสร้างและหน้าที่
ชั้นนอกสุด:
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมี หลอดเลือดซาวาโซรัมมาเลี้ยงผนังหลอดเลือด
ชั้นกลาง:
ชั้นกล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มี Elastic fibers ทำให้ยืดหยุ่นได้ดี
ชั้นในสุด:
เนื้อเยื่อบุผิวแบนบางและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน มี Elastic fibers
เรียงลำดับจากหัวใจต่อเนื่องไปจากใหญ่ไปเล็ก :
Aorta-->Artery-->Arteriole
Venous system
:red_flag:
ทิศทางออกจากปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกายและมีทิศเข้าสู่หัวใจ
ทำหน้าที่นำเลือดจากปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าหัวใจ
Vena cava-->Vein-->Venule
มีผนัง 3 ชั้น ผนังยืดและหดขยายได้ = ผนังบางกว่าอาร์เทอรีเนื่องจากกล้ามเนื้อน้อยกว่า
แรงดันเลือดในหลอดเลือดเวนต่ำกว่าอาร์เทอรี ใกล้หัวใจแรงดันเลือดจะต่ำเนื่องจากอยู่ห่างแรงบีบของหัวใจ
หลอดเลือนเวนขนาดใหญ่จะมีลิ้นกั้นเป็นระยะป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ ยกเว้น pulmonary vein
Capillarial system
: :red_flag:
แทรกอยู่ตามเนื้อเยื่อและเชื่อมต่อระหว่างระบบอาร์เทอรีกับระบบเวน
ขนาดเล็ก ผนังบาง
ประกอบด้วยเซลล์เอนโดทีเลียลเรียงตัวชั้นเดียว ไม่มีกล้ามเนื้อและเส้นใยอิลาสติน สานกันเป็นร่างแหตามเนื้อเยื่อเชื่อมต่อระหว่าง อาร์เทอริโอล และเวนูล
ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร แก๊ส และสารต่างๆ
เลือด :fire:
เลือดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
พลาสมา (plasma) :red_flag:
ของเหลว = น้ำเลือด
H2O 90% : ตัวพาเซลล์เม็ดเลือดให้หมุนเวียน ในหลอดเลือด
ลำเลียงสาร
เซลล์เม็ดเลือด (blood corpuscle) :red_flag:
เซลล์เม็ดเลือดแดง
หน้าที่: ขนส่ง O2 ลาเลียง O2 ไปเลี้ยงร่างกาย โดย O2 จับกับ hemoglobin ได้เป็น oxyhemoglobin
เซลล์เม็ดเลือดขาว
หน้าที่: ป้องกันหรือทาลายเชื้อโรคและต่อต้าน สิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย โดยวิธี phagocytosis
เพลตเลต
กลไกการแข็งตัวของเลือด
นางสาวปิยธิดา เตราชูสงค์ เลขที่ 37