Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๖ การบริหารการพยาบาล, จัดทำโดย นางสาวนฤมล ดีสมจิตร ชั้นปีที่3…
บทที่ ๖ การบริหารการพยาบาล
๑. ขอบเขตและความรับผิดชอบของผู้บริหารทางการพยาบาลในบทบริการสุขภาพระดับต่างๆ
- การบริหารงานในบทบริการปฐมภูมิ
ระดับปฐมภูมิ (Primary care level)
เป็นบริการที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนและชุมชนมากที่สุด มีการรักษาดูแลที่ไม่ซับซ้อน จึงเน้นที่ความครอบคลุมมีด้านการรักษาพยาบาล การป้องกันควบคุมโรค และฟื้นฟูสภาพ เช่น รพสต. เป็นต้น
๑. การวางแผน (Planning)
๓. การนําหรืออํานวยการ (Directing)
๔. การควบคุมกํากับงาน (Controlling)
๒. การจัดองค์กรการพยาบาลในชุมชน
- การบริหารงานในบทบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ
ระดับทุติยภูมิ (Secondary care level)
เป็นบริการที่ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ในระดับที่สูงขึ้นเน้นการบริการรักษาพยาบาลโรคที่ยากซับซ้อนมากขึ้น เช่น รพช. รพศ. เป็นต้น
ระดับตติยภูมิ (Tertiary care level) และศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง (Tertiary Care and Excellent Center)
เป็นการบริการที่ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูงที่มีความสลับซับซ้อนมาก มีบุคลากรทางการแพทย์ในสาขาเฉพาะทางสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่เป็นโรงพยาบาลศูนย์สถาบันเฉพาะทางต่างๆหรือสังกัดมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลเฉพาะโรคต่างๆ
ตําแหน่งผู้บริหารการพยาบาล
๒. ผู้บริหารระดับกลาง (Middle level administration) ได้แก่ หัวหน้าแผนก
๓. ผู้บริหารระดับต้น (First level administration) ได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วย
๑. ผู้บริหารระดับสูง (Top level administration) ได้แก่ ผู้อำนวยการ
บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารการพยาบาล
บทบาทหน้าที่รับผิดชอบของหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล / หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล
๑. รับนโยบายจากผู้อํานวยการ
๒. กําหนดปรัชญา นโยบาย วิสัยทัศน์พันธกิจและเป้าหมายทางการพยาบาล
๓. เป็นผู้นําในการจัดทําแผนกลยุทธ์แผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน แผนปฏิบัติการของกลุ่มการพยาบาล
๔. กําหนดมาตรฐานบริการพยาบาลในภาพรวม
๕. กําหนดเกณฑ์ในการสรรหา/คัดเลือกบุคลากร
๖. กําหนดขอบเขตงานหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของบุคลากรทุกระดับ
๗. ควบคุม กํากับประเมินผลและวิเคราะห์ระบบการพยาบาลของหน่วยงาน
๘. ประสานงานกับส่วนราชการต่างๆ
๙. เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล
๑๐. นิเทศงานการพยาบาลทั้งในและนอกโรงพยาบาล
๑๑. จัดหา ควบคุมพัสดุครุภัณฑ์เครื่องมือทางการแพทย์และทางการพยาบาลให้เพียงพอ
๑๒. จัดหาและจัดสรรอัตรากําลังให้กับหน่วยงานต่างๆ
๑๓. ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่และผู้มาฝึกงานการพยาบาลในโรงพยาบาล
๑๔. ควบคุมระบบบริหารงานเกี่ยวกับ การบริหารอัตรากําลัง การบริหารอุปกรณ์ การบริหารอาคารสถานที่
๑๕. ส่งเสริมและริเริ่มการรักษา ค้นคว้าวิจัยทางการพยาบาล
๑๖. จัดสวัสดิการให้กับเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลทุกระดับ
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลเวรตรวจการ
๑. ปฏิบัติหน้าที่แทนหัวหน้าพยาบาลนอกเวลาราชการ
๒. ตรวจเยี่ยมเจ้าหน้าที่,ให้คําปรึกษาและช่วยแก้ไขปัญหา
๓. ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยร่วมกับหัวหน้าเวร๔. บริหารจัดการเรื่องอาคารสถานที่เครื่องมืออุปกรณ์ให้สะอาดเพียงพอและพร้อมใช้
๕. บริหารจัดการเมื่อเกิดเหตุการณ์พิเศษในหน่วยงาน
๖. บันทึกเหตุการณ์สําคัญยอดผู้ป่วยและภาระงาน
๗. เสนอรายงานเหตุการณ์ผิดปกติหรือเหตุการณ์ที่ไม่สามารถแก้ไขได้
๘. ปฏิบัติหน้าที่นอกเวลาราชการ
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของหัวหน้าหอผู้ป่วย
๑. รับนโยบายจากกลุ่มการพยาบาล
๒. กําหนดปรัชญา นโยบาย วิสัยทัศน์และพันธกิจในหน่วยงาน
๓. เป็นผู้นําในการจัดทําแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัติงานในหน่วยงาน
๔. วางแผนการดําเนินงานต่างๆในหน่วยงาน
๕. ควบคุม กํากับประเมินผลและวิเคราะห์ระบบการบริการพยาบาลในหน่วยงาน๖. เป็นที่ปรึกษาและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน
๗. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘. วางแผนและจัดสรรอัตรากําลังในหน่วยงาน
๙. จัดตารางการปฏิบัติงาน
๑๐. ส่งเสริมและสร้างขวัญและกําลังใจแก่บุคลากร
๑๑. นิเทศบุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน
๑๒. กําหนดความต้องการใช้พัสดุครุภัณฑ์ประจําปี
๑๓. ให้การพยาบาลผู้ป่วยทั่วไปและที่มีปัญหาซับซ้อนครอบคลุมทั้ง ๔ มิติ
๑๔. ปรับปรุง /พัฒนาควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการ
๑๕. เป็นที่ปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการพยาบาลและงานในหน้าที่แก่บุคลากรทุกระดับและนักศึกษา
ที่มาฝึกงาน/อบรม
๑๖. สนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาศักยภาพด้านการปฏิบัติและทักษะทางการพยาบาล
๑๗. ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่และผู้ศึกษาดูงานในหน่วยงาน
ทีมการพยาบาล
องค์ประกอบของทีมการพยาบาล
๓. สมาชิก : เป็นองค์ประกอบสําคัญของทีม
๔. การประสานงาน
๒. แผนงาน ในทีมต้องมีการวางแผนงานของทีม
๕. การรายงาน
๑. ผู้นําหรือหัวหน้าทีมการพยาบาล
๖. การประเมินผลการพยาบาล
การบริหารหอผู้ป่วย
หลักการจัดหอผู้ป่วย
๓. การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ (Infection control)
๔. ควบคุมเสียง (noise control) ไม่ให้มีเสียงดังรบกวนการพักผ่อนของผู้ป่วย
๒. ความปลอดภัย (safety)
๑. ความเป็นสัดส่วน (Privacy)
การจัดระบบงานของหอผู้ป่วย
๒. กําหนดขอบเขตความรับผิดชอบ
๑. กําหนดวัตถุประสงค์การบริการผู้ป่วย
๓. กําหนดอัตรากําลังและประเภทของเจ้าหน้าที่แต่ละระดับ
๔. กําหนดหน้าที่รับผิดชอบ
๕. กําหนดการติดต่อสื่อสาร
๖. จัดทําคู่มือปฏิบัติการพยาบาล
๗. การวางแผนให้การพยาบาล
๘. นโยบายด้านบุคลากร
๙. จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้
๑๐. การบันทึกการรายงาน
๑๑. การเสริมความรู้ด้านวิชาการ
๑๒. มีการติดต่อประสานงานกับทีมสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง
๑๓. มีการประเมินผล
การจัดอัตรากําลังทางการพยาบาล (Nursing Staffing)
1. การวางแผนอัตรากําลัง (Staffing planning)
2. การจัดตารางการปฏิบัติงาน (Scheduling)
3. การกระจายอัตรากําลัง (Staffing allocation)
๑. การมอบหมายงานเฉพาะหน้าที่ (Functional Method)
๒. การมอบหมายงานเป็นทีม (Tem Method)
๓. การมอบหมายงานเฉพาะรายผู้ป่วย (Case Method)
๔. การมอบหมายงานแบบพยาบาลเจ้าของไข้ (Primary Methods)
๕. การมอบหมายงานแบบผสมผสาน (Multiple Method)
๖. การมอบหมายแบบผู้จัดการกรณีหรือผู้จัดการการดูแลผู้ป่วย (Case management)
๒.๒ การจัดแบบแยกการ (Decentralized Scheduling)
๒.๑ การจัดแบบรวมการ (Centralized Scheduling)
คาดคะเนความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย (The Nursing Care Needs of Patients)
การนิเทศงานการพยาบาล
๑. การนิเทศใกล้ชิด (close supervision)
๒. การนิเทศอิสระ (general supervision)
ระบบการดูแลผู้ป่วย
๑. ระบบการดูแลเป็นรายบุคคล (case method or total patient care)
๒. ระบบการทํางานเป็นหน้าที่ (functional nursing)
๓.ระบบการพยาบาลเป็นทีม (team nursing)
๔.ระบบการพยาบาลแบบเจ้าของไข้ (primary nursing)
๕.ระบบการจัดการด้านผู้ป่วย (Case Management)
จัดทำโดย นางสาวนฤมล ดีสมจิตร
ชั้นปีที่3 เลขที่ 43 (603101043)