Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัว
ะดับรู้สึกตัวดี (full consciousness)
ความรู้สึกสับสน (confusion) ผู้ป่วยจะรุ้สึกสับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation) ผู้ป่วยไม่รับรู้ตลอดเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความรู้สึกตัวลดลง
คือ ผู้ป่วยจะตื่นเเละรุ้สึกตัวดี การรับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ เป็นปกติ พฤติกรรมที่เเสดงออกเหมาะกับวัย
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy) ผู้ป่วยสมารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุน พุดช้า เเละสับสน
ระดับหมดสติ (coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถตอบสนองทั้งด้านการเคลื่อนไหวหรือทางวาจา ต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ระดับความรู้สึก (stupor) ผู้ป่วยไม่รุ้สึกตัวหลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ำๆหลายครั้ง
ท่าทาง (posturing) ของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decerebrate posturing จะพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่สามาถทำงานได้ตามปกติ
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
Decorticate posturing จะพบในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
ในช่วงหมดสติระดับลึก (deep coma) จะพบว่า reflexes ต่างๆของเด็กจะหายไป
เป้นภาวะการทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้ว่าสิ่งเร้านั้นจะรุนเเรงหรือก่อให้เกิดความเจ็บปวดก็ตาม
Glasgow Coma scale ในเด็ก
การสนองตอบด้วยการลืมตา (Eye opening : E)
การตอบสนองการพุด (Verbral response : V)
การตอบสนองด้วยการเคลื่อนไหว (Motor response : M)
ภาวะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติของสมองที่เกิดจาก
เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor
โรคลมชัก (Epilepsy)
การไดรับบาดเจ็บ (Head injry)
กรณีที่ 2 มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติที่สมองที่เกิดจากการติดเชื้อ
ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)
บาดทะยัก (Tetanus)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการอักเสบเแียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยุ่รอบๆ สมองเเละไขสันหลังเเละเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย ส่วนมากพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
การประเมินสภาพ Meningeal lrritation
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีอาการข้อเเข็ง (์Nuchal rigidity)
ซึมลงจนหมดสติ
ชัก
ปวดข้อ
ปวดสีรษะรุนเเรง
อาการไข้สุูง
การตรวจน้ำไขสันหลัง
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
ติดต่อ โดยช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะรุนแรง
อาเจียน
คอเเข็ง
อาจมีผื่นแดง
จ้ำเลือด(pink macules)
ไข้
การเก็บและส่งตรวจ
MIC
seminested-PCR
PCR
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนให้ยาปกิชีวะนะ 15 นาที
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ
ยาปฏิชีวะนะ
สาเหตุ ติดเชื้อ Neisseria meningitides
อาการสำคัญ คือ ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 องศาเวลเซียส ประมาณ 6 เดือน - 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาท เช่น ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุุ ติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ประสาท
ประเมินสภาพ
ประเมินภาพร่างกาย
การตรวจทางห้องปกิบัติการ
การซักประวัติ ไข้,ติดเชื้อ,ประวัติครอบครัว,การได้รับวัคซีน ฯล
การตรวจพิเศษอื่นๆ
อาการ
อาการชัก เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง
มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน 5 ปี
มีอาการชักเมื่ออุณหภุมิสุงกว่า 39 องศาเซลเซียส
ชนิด
Simple febrile seizure
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้นๆไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักว้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ก่อน-หลัง ชักไม่มีอาการทางประสาท
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ระยะเวลาชักเกินกว่า 15 นาที
เกิดการชักว้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียว
หลังชักจะมีความรับผิดปกติของระบบประสาท
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
ประวัติการชักของสมากชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
การตรวจกล้ามเนื้อ
การประเมินสภาพ
Clonic phase
Febril seizure
Tonic phase
Febrile Convulsion
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
อาการแสดงทางคลินิก
รอยเปิดกะโหลกดป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
อาการแสดงความดันในกะดหลกศีรษะสูง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
รอยต่อกระโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
รีเฟล็กไวเกิน
หัวบาตร
การหายใจผิดปกติ
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด (complication)
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ไตอักเสบ
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในดพรงสมอง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ
ชนิด
Athetoidsis การเคลื่อนไหวร่างกายผิดปกติขณะตื่น ไม่สามารถบังคับให้ไปในทิศทางที่ต้องการได้
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย
กล้าเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Mixed type หลายอย่างรวมกัน
อาการ
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
เป็นความบกพร่องของสมองที่ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
ประเมินสภาพ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
ชนิด
Spina bifida occulta ผิดปกติที่กระดูกส่วนหลัง
Spina bifida cystica ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
Meningocele มีก้อนในเนื่อเยื่อหุ้มไขสันหลัง แต่ไม่มีเนื้อเยื่อประสาท
Myelomeninegocele มีก้อนในเนื่อเยื่อหุ้มไขสันหลัง มีเนื้อเยื่อประสาท
การรักษา ให้ spida bifida occulta และผ่าตัด
Spina Bifida เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลังมีถุงผ้ายื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตำเเหน่งที่บกพร่องนั้น
การป้องกัน ให้กรดโฟลิกแก่หญิงตั้งครรภ์
อาการสำคัญ
ขาอ่อนเเรงทั้งสองข้าง
ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
มีก้อนที่หลังหรือหน้าผาก
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง
พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
ตรวจพิเศษ
ตรวจระดับ Alpha fetoprotein
CT scan
ใช้ไฟฉายส่องที่ถุง (Transillumination test)
ซักปะวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิก ขณะตั้งครรภ์
ได้ยากันชักประเภท Valporic acid