Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง, นางสาว…
การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
บทนำ
สี่เสาหลัก
การเรียนเพื่อปฏิบัติ (Learning to do)
เน้นการพัฒนาทักษะและศักยภาพของผู้เรียน ช่วยสร้างความสามารถในการดำรงชีพอยู่ในสถานการณ์ต่างๆ ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ทดลองและ พัฒนาความสามารถของตน
การเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning to be)
เน้นให้มนุษย์สามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วโดยมีส่วนในการจรรโลงสิ่งดีๆ และระงับยับยั้งสิ่งไม่ดี ไม่เหมาะสมได้ อย่างมีความสุข
การเรียนเพื่อรู้ (Learning to know)
เน้นการรวมความรู้ที่สำคัญเข้าด้วยกัน มีการศึกษาลงลึกในบางวิชาซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่นำไปสู่การศึกษาตลอดชีวิต เป็นการวางรากฐานที่มั่นคง สำหรับให้ค้นที่ชอบแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา
การเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน (Learning to live together)
เน้นให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ มีความรักและเคารพซึ่งกันและกัน สร้างความรู้ความเข้าใจในผู้อื่นทั้งแง่ประวัติศาสตร์ ธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยมทางจิตใจที่เหมาะที่ควรต่อมวลมนุษย์
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตรา 22
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักที่ว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา 24
2) ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณแ์ละการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้คิดได้คิดเป็นทำเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกวิชา
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการ เรียนและอำนวยความสะดวก เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้
6) การจัดกิจกรรมการเรียนร ู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลใน ชุมชนทุกฝ่าย
ความหมาย
กิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง การปฏิบัติต่างๆ ของผู้เรียนที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ผลการเรียนรู้หรือมาตรฐานตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา หรืออีกความหมายหนึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หมายถึง วิธีการ/ กิจกรรมที่ครูหรือผเู้กี่ยวข้องนำมาใช้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ความสำคัญ
3) ปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย การใช้ทักษะชีวิต
4) ฝึกความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลตามศักยภาพ และคุณลักษณะที่ดี
2) เปิดโอกาสให้ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
5) ส่งเสริมทักษะกระบวนการต่างๆ เช่น การคิดสร้างสรรค์การสื่อสาร การแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม การบริหารจัดการ ฯลฯ
1) กระตุ้นความสนใจ สนุกสนาน ตื่นตัวในการเรียน มีการเคลื่อนไหว
6) ฝึกการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ตลอดชีวิต
7) สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนกับครูและบุคคลที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
8) เข้าใจบทเรียนและส่งเสริมพัฒนาการผู้เรียนในทุกๆด้าน
หลักการ
หลักการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
2) เลือกประสบการณ์ที่ผู้เรียนพึงพอใจ สนุก น่าสนใจ ไม่ซ้ำซาก มีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในชีวติประจำวัน และทำให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน
3) เลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสามารถทางด้านร่างกายของผู้เรียนที่จะปฏิบัติได้ และควรคำนึงถึงประสบการณ์เดิมเพื่อจัดกิจกรรมใหมไ่ด้อย่างต่อเนื่อง
1) เลือกประสบการณ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ หากเป็นทักษะ ควรเป็นทักษะที่ปฏิบัติแล้วผู้เรียนจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ตามวัตถุประสงค์
4) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสรมิจุดมุ่งหมายในการจัดการเรียนรู้หลายๆ ด้าน
5) คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงควรจัดกิจกรรมให้หลากหลาย ให้ผู้เรียนได้ใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้มากที่สุด
หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5) ผเู้รียนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมและการประเมินผล
6) ส่งเสริมกระบวนการคิดและทักษะต่างๆ
4) ใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสม
7) ใช้เทคนิควิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย
3) จัดเรียงเนื้อหาตามลำดับขั้นตอน
8) มีการวัดและประเมินผลหลากหลายและเหมาะสมสอดคล้องกับกิจกรรม
2) เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความสนใจของผู้เรียน
9) ผเู้รียนมีความสุข มีเจตคติที่ดีและอยากเรียนรู้มากขึ้น
1) สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของหลักสูตร จุดประสงค์การจัดการเรียนรู้ ลักษณะเนื้อหาวิชา
ลักษณะการจัดการเรียนรู้
2) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน 3 ด้าน
ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
จิตพิสัย (Affective Domain)
3) ผู้สอนต้องใช้ทั้งวิชาการ (ศาสตร์) และทักษะ/เทคนิค (ศิลป์)
1) กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กระบวนการความรู้ความเข้าใจ
7.2 วางแผนกำหนดแนวทาง
7.3 แบ่งความรับผิดชอบไปแสวงหาความรู้
7.1 สังเกตและตระหนัก
7.4 พัฒนาความรู้ความเข้าใจ
7.5 สรุปสาระสำคัญ
กระบวนการสร้างความตระหนัก
8.2 วิจารณ์
8.3 สรุปผล
8.1 สังเกต
กระบวนการกลุ่ม
6.2 กำหนดจุดประสงค์และวิธีการ
6.3 รับฟังความคิดเห็นจากสมาชิก
6.1 เลือกผู้นำกลุ่ม
6.4 สรุปผล
กระบวนการแก้ปัญหา
9.3 สร้างทางเลือก
9.4 เก็บรวบรวมข้อมูลหรือทดสอบ
9.2 วิเคราะห์
9.5 สรุปผล
9.1 สังเกต
กระบวนการสร้างค่านิยม
5.2 การวิเคราะห์
5.3 การเลือกกำหนดเป็นค่านิยม
5.1 สังเกตและตระหนัก
5.4 เห็นคุณค่าและนำไปปฏิบัติ
5.5 สรุปเป็นค่านิยมของตนเอง
กระบวนการความคิดสร้างสรรค์
10.2 รวบรวมข้อมูลและปล่อยความคิดไว้เงียบๆ
10.3 เชื่อมโยงความคิด
10.1 เตรียมข้อมูล
10.4 ทดสอบความคิดและพิสูจน์ให้เห็นจริง
กระบวนการสร้างเจตคติ
วิเคราะห์
สรุป
สังเกต
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทักษะการคิดคำนวณ
2) ยกตัวอย่างและสรุปเป็นกฎ
3) ฝึกประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่
1) สร้างความคิดรวบยอด
4) สรุปผล
ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา
2) กำหนดแนวทางแก้โจทย์ปัญหา
3) หาคำตอบ
1) ทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา
กระบวนการปฏิบัติ
3.2 ทำตามแบบ
3.3 ทำเองโดยไม่มีแบบ
3.1 สังเกตและรับรู้
3.4 ฝึกใหเ้กิดความชำนาญ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
12.3 ทดลอง/รวบรวมข้อมูล
12.4 วิเคราะห์ข้อมูล
12.2 ตั้งสมมตฐิาน
12.5 สรุปผล
12.1 กำหนดปัญหา
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.3 การรับฟัง
2.4 การเชื่อมโยงความสัมพันธ์
2.2 การอธิบาย
2.5 วิเคราะห์วิจารณ์
2.1 สร้างความคิดรวบยอด
2.6 สรุป
กระบวนการทางภาษาศาสตร์
13.2 สร้างความคิดรวบยอด
13.3 ถ่ายทอดหรือสื่อความหมาย ความคิด
13.1 ทำความเข้าใจสัญลักษณ์
13.4 พัฒนาความสามารถ
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
1.3 จำแนกลักษณะร่วมและสรุป
1.4 ทดสอบความเข้าใจ
1.2 สังเกตและคิด
1.5 สรุปแนวทางความคิด
1.1 การรับรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ 9 ประการ
14.5 วางแผนการปฏิบัติ
14.6 ปฏิบัติอย่างชื่นชม
14.4 ประเมินผลทางเลือก
14.7 ประเมินระหว่างปฏิบัติ
14.3 สร้างทางเลือกหลากหลาย
14.8 ปรับปรุงแก้ไข
14.2 คิด วิเคราะห์ วิจารณ์
14.9 ประเมินผลรวมเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ
14.1 ตระหนักในปัญหาและความจำเป็น
กิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การแสดงความคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหา
การตั้งข้อสังเกตหรือบอกวิธีแก้ปัญหา อาจพูดหรอืเขียนบรรยายหรือแสดงท่าทาง
การอภิปราย
หัวข้อเป็นข้อความหรือคำถามก็ได้ อธิบายแสดงเหตุผลสนับสนุน/ โต้แย้ง โดยไม่แบ่งฝ่าย ไม่มีการลงมติอาจให้ทุกคนเขียนสรุปผลการอภิปราย ผู้สอนบันทึกการอภิปรายและตรวจข้อเขียนประกอบการพิจารณาประเมินผล
การค้นหา
การศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจรงิ/ขอ้มูลสารสนเทศ/ทักษะกระบวนการ ซึ่งอาจทำโดยการรวบรวม การสังเกต การทดลอง การตรวจสอบ หรือการฝึกฝน
การซักถาม
ตั้งคำถามให้ช่วยกันตอบรายบุคคล/กลุ่ม/ชั้นเรียน เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนหรือกิจกรรม
ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
รวมถึงการรวบรวมปรับปรุงจากผลงานที่มีผู้ทำไว้
บทบาทครู
การให้คำแนะนำ
ชี้แนะกิจกรรม หัวข้อศึกษาค้นคว้าหรือสถานการณ์ ซึ่งอาจเป็น สถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลองก็ได้ ให้เป็นตามหลักสูตรหรือสอดคล้องกับหลักสูตรผู้สอนต้องเตรียมการ
ชี้แนะวิธีดำเนินการ โดยให้คำปรึกษาให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการศึกษา ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูล วิธีรวบรวม วิธีนำเสนอ แนะนำการทำงานร่วมกัน การใชสื่ออและแหล่งเรียนรู้
การกำกับดูแลกิจกรรม
กำกับดูแลการทำงาน โดยแนะนำวิธีการทำงานใหเ้ป็นไปอย่างถูกวิธี ถูกรูปแบบ รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นรับผิดชอบ คิดและทำอย่างสร้างสรรค์ ปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ
ประเมินผลตามสภาพจริง โดยการสังเกตพิจารณาระหว่างปฏิบัติงานตามขั้นตอนต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrating Method)
3) กำหนดเนื้อเรื่อง (สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ช่วงชั้นแต่ละวิชา)
4) กำหนดขอบเขตการเรียนรู้ (กิจกรรมและเวลา)
2) กำหนดจุดประสงค์ (สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น)
5) ดำเนินกิจกรรม (วิธีการหลากหลายค้นคว้าจากแหล่งในท้องถิ่น/ชุมชน)
1) กำหนดหัวข้อ (ที่เกี่ยวกับชีวติประจำวัน)
6) ประเมินผลตามสภาพจริง (แฟ้มสะสมงาน สังเกต กิจกรรม การตอบสนองและพัฒนาการ)
การเรียนรู้แบบถามตอบ (Ask and Question Model)
3) วางแผน : จัดกลุ่มคำถามของกลุ่มตนเองตามเนื้อหาสาระ คัดเลือกคำถามที่ไม่ตรงประเด็นออก จัดคำถามคล้ายกันเข้าด้วยกัน และวางแผนการถามตอบ 2-3 ครั้ง โดยกำหนดตัวบุคคลที่จะถามและตอบ
4) ดำเนินการถามตอบ : ผู้ตอบคำถามนั่งหน้าชั้น ผู้ถามนั่งด้านข้าง โดย อ่านคำถามทีละข้อเรียงลำดับเนื้อหาประเภทเดียวกัน ผู้ตอบคำถามเป็นผู้อธิบายและชี้แจง ส่วนมากคำถามของกลุ่มใด ตัวแทนของกลุ่มจะเป็นผู้ตอบ คนอื่นอาจเสริมเพิ่มเติมความคิดให้ สมบูรณ์ ส่วนผู้ฟังจะจดบันทึกคำถามคำตอบแต่ละประเด็น
2) ศึกษาความรู้: แบ่งกลุ่มศึกษาจากสื่อที่ผู้สอนเตรียมไว้ คำถามมี 3 ลักษณะคือ คำถามข้อเท็จจริง คำถามที่ต้องการคำอธิบาย/ความหมาย/เหตุผล และคำถามการประเมินคุณค่า/ตัดสิน
5) ทบทวนและสรุปความรู้: หลังการถามตอบแต่ละครั้งจะช่วยกันสรุป เนื้อหาสาระตามประเด็นคำถาม โดยจัดหมวดหมู่ของเนื้อหาสาระเข้าด้วยกัน และตั้งเป็นหัวข้อเรื่องที่เป็นคำตอบคล้ายกันเข้าด้วยกัน
1) แนะนำกิจกรรม : ผู้สอนกำหนดหัวข้อ จุดประสงค์และขั้นตอนการเรียนแล้วร่วมกันกำหนดหัวข้อย่อย/กิจกรรม เพื่อตั้งคำถามให้ตรงจุดประสงค์
6) กิจกรรมสร้างสรรค์: ตอบคำถามหมดทุกประเด็นแล้ว แต่ละกลุ่มประชุมวางแผนจัดกิจกรรมประกอบการจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Based)
2) การอธิบาย (Explanation) : ทำความเข้าใจปัญหา
3) การทำนาย (Prediction) : หาแนวทางแก้ปัญหา
1) การสังเกต (Observation) : ได้ข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เป็นปัญหา
4) การนำไปใช้และสร้างสรรค์ (Control and Creativity) : ได้ข้อค้นพบและนำไปใช้
การเรียนรู้ด้วยรูปแบบซิปปา (CIPPA Model)
2) แสวงหาความรู้ใหม่ (CIPP) : ด้วยสื่อ/แหล่งเรียนรู้
3) ศึกษาทำความเข้าใจ (CIPP) : สร้างความหมาย/สรุป ด้วยกระบวนการต่างๆ จากกิจกรรม
1) ทบทวนความรู้เดิม (CI) : สร้างความพร้อมเชื่อมโยงความรู้โดยการซักถาม เล่า/แสดง
4) แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม (CIPP) : ตรวจสอบกับกลุ่มโดยแบ่งปันซึ่งกันและกัน
5) สรุปและจัดระเบียบความรู้ (CIPP) : จดจำโดยสรุปประเด็นสำคัญให้ครบถ้วน
6) แสดงผลงาน (CIPPA) : ตรวจสอบความรู้/เข้าใจ เช่น นิทรรศการ อภิปราย วาดภาพ ฯลฯ
7) ประยุกต์ใช้ความรู้ (CIPPA) : นำไปใช้ใหเ้กิดประโยชน์ในสถานการณ์ใหม่
การเรียนรู้แบบศูนย์กลางเรียน (Learning Center)
2) เข้าศึกษาประจำศูนย์การเรียน หัวหน้ากลุ่มหยิบบัตรคำสั่ง สมาชิกปฏิบัติตาม
3) ครบกำหนดเวลา ผู้สอนบอกเปลี่ยนศูนย์ ถ้ากลุ่มใดมีเวลาเหลือเข้า ศูนย์สำรอง เพื่อเพิ่มพูนความรู้พิเศษ หรือสนทนากับผู้สอน เมื่อศึกษาครบทุกศูนย์พบปะพร้อมกันทั้งชั้นเรียน เพื่ออภปิรายซักถามหรือเสนอรายงาน แล้วแต่จะกำหนดให้เหมาะสม
1) ทำความตกลงวิธีเรียน เวลา ความรับผิดชอบ
การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Work)
3) เขียนเค้าโครง : วางแผนการทำประกอบด้วย ชื่อโครงงาน ชื่อผู้ทำ ชื่อ ที่ปรึกษา ระยะเวลา หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ สมมติฐาน(ถ้ามีการทดลอง) ขั้นตอน ดำเนินการ/แผนกิจกรรม สถานที่และวัน เวลา ผลที่คาดว่าจะได้รับและเอกสารอ้างอิง
4) ปฏิบัติโครงงาน : หลังการอนุมัติ ปฏิบัติตามแผนด้วยความรอบคอบ คำนึงถึงความประหยัด ปลอดภัยและส่ิงแวดล้อม อาจมีการปรับเปลี่ยนได้ ควรปรึกษาอาจารย์
2) ศกึษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง : อาจถามผู้รู้รวมการสำรวจวัสดุอุปกรณ์
5) เขียนรายงาน : ใช้ภาษาง่าย กระชับชัดเจน ครอบคลุมประเด็น ซึ่ง ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการ ผลการศึกษา สรุปและ อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ ตารางและภาพประกอบ เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
1) คิดและเลือกหัวข้อ : จากปัญหา/อยากรู้
แสดงผลงาน : เอกสาร/รายงาน/ชิ้นงาน/แบบจำลอง ฯลฯ
การเรียนรู้แบบโครงสร้างความรู้ (Graphic Organizer)
2) Web (แผนผังใยแมงมุม)
3) Venn Diagram (แผนผังรูปแบบเวนน์)
1) Mind Mapping (แผนผังความคิด)
4) The Circle (แผนผังความคิดแบบวงจร)
5) The Fish Bone (แผนผังก้างปลา)
6) The Grid (แผนผังแบบจำแนกรายละเอียด)
7) The Ranking Ladder (แผนผังความคิดแบบเปรียบเทียบเรียงลำดับ)
การเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนรู้เป็นคู่ (Learning Cell)
1) ก่อนวันเรียน ผู้สอนชี้แจงวิธีการเรียน -ผู้สอนเตรียมเนื้อหาให้ผู้เรียน ศึกษาอย่างละเอียด (ศึกษาได้ด้วยตนเองไม่เกิน 1-2 ชั่วโมง) ผู้เรียนเขียนคำถามที่ครอบคลุมเนื้อหาไม่ต่ำกว่า 10 ข้อ เตรียมไว้ 2 ชุด พร้อมคำตอบก่อนเข้าห้องเรีย
2) ในคาบเรียน ผู้สอนกระตุ้นการทำกิจกรรมควบคุมเวลาและการทดสอบหลังเรียนรายบุคคล ผู้เรียนทุกคนส่งคำถามให้ผู้สอน 1 ชุด เก็บไว้ถามเพื่อน 1 ชุด -จับกันเป็นคู่ เพื่อถามและตอบ -ดำเนินการถามถ้าตอบถูกผู้ถามบันทึกคะแนนข้อละ 1 คะแนนถ้าตอบผิดผู้ถามจะอธิบายคำตอบแต่ไม่ให้คะแนน แล้วเปลี่ยนกันถาม ทำเช่นเดียวกัน หมุนเวียนเปลี่ยนคู่ถามตอบคนอื่นๆ ต่อไป ทำแบบฝึกหัดแล้วเฉลยคำตอบ
การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ ( Cooperative Learning)
ขั้นที่ 4 : บอกสิ่งที่คาดหวังและกำหนดเวลาการทำงาน
ขั้นที่ 5 : เสนอเนื้อหาโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
ขั้นที่ 3 : แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม
ขั้นที่ 6 : ช่วยเหลือผู้เรยีนขณะทำงาน
ขั้นที่ 2 : กำหนดวัตถุประสงค์
ขั้นที่ 7 : ทดสอบความรู้ /ทักษะ (การเรียนรู้ การใช้อุปกรณ์)
ขั้นที่ 1 : เลือกเนื้อหาและกำหนดเกณฑ์
ขั้นที่ 8 : บันทึกผลทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมในแหล่งชุมชน (The use of Community Activities)
2) ขั้นกำหนดวัตถุประสงค์: ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกำหนดปัญหา กิจกรรมและวัตถุประสงค์ ในการใช้กิจกรรมในแหล่งชุมชน
3) ขั้นวางแผน : ผู้สอนและผเู้รียนร่วมกันวางแผนตามขั้นตอน
1) ขั้นนำเสนอ : ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันเสนอปัญหา/ความต้องการ แก้ปัญหา โดยใช้สื่อและวิธีการต่าง ๆ กระตุ้น
4) ขั้นดำเนินการ : ปฏิบัติตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้การจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนมีคุณภาพ
ด้านการบริหารจัดการ
มีระบบการคัดกรองและการประเมินผลที่มคีุณภาพและเหมาะสม
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีคุณธรรม ยึดมั่นและบริหารภายใต้หลักธรรมาภิบาล
สถานศึกษาต้องมีเสรีภาพทางวิชาการและในการจัดการศึกษามีอิสรภาพในการบริหารจัดการ ให้คำชี้แนะและเป็นที่พึ่งของสังคมได้
คุณภาพครู
ครูต้องมีความใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอยู่สม่ำเสมอ
มีความมุ่งมั่น เสียสละ ทุ่มเทกำลังความสามารถ
มีความรับผดิชอบทั้งต่อตนเองหน้าที่ และส่วนรวม
มีความภาคภูมิใจในเกียรติภูมิขิองอาชีพครูต้องครองตนเป็นแบบอย่างที่ดี
มีคุณธรรม จรยิธรรม และจรรยาบรรณ
ด้านการเรียนการสอน
มีคณาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ และเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน รวมถึงสามารถกำกับดูแลให้เป็นไปตามข้อกำหนด
ห้องเรียนต้องเป็นห้องเรียนที่มีชีวิตมีการจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
เป็นหลักสูตรที่ได้รับการรับรองอย่างถูกต้อง และผู้เรียนสามารถนำไปประกอบวิชาชีพได้จริง
ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรม ขนบประเพณี วิถีชีวิต ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเอง
มีการ “ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน” โดยเน้นให้ผู้เรียน เรียนผ่านการปฏิบัติหรือประสบการณต์รง
ด้านสถานที่และงบประมาณ
มีอาคารสถานที่และบริเวณที่สะอาดถูกสุขอนามัย สวยงาม กระตุ้น จูงใจให้อยากมาเรียน และเพียงพอต่อความต้องการ
สื่อ อุปกรณ์ เช่น ห้องสมุดที่ทันสมัย หนังสือจำนวนมากให้ค้นคว้าในสิ่งที่อยากรู้ อยากเห็น อยากทำความเข้าใจ มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงห้องเรียนกับโลกกว้างได้
ด้านนโยบาย
การกำหนดนโยบายควรสอดคล้องกับบริบทของสังคมมีความต่อเนื่องชัดเจน สามารถชี้นำสังคมเป็นที่ยอมรับและไม่มุ่งประโยชน์ทางการเมือง
มีการทบทวน ตรวจสอบ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
คุณภาพการประเมิน
การประกันคุณภาพภายใน
เป็นกระบวนการที่บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาร่วมกันวางแผนกำหนดเป้าหมายและวิธีการลงมือปฏิบัติตาม แผนในทุกขั้นตอน มีการบันทึกข้อมูล เพื่อร่วมกันตรวจสอบผลงาน หาจุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุง และร่วมกันปรับปรุงแผนงานนั้นๆ โดยมุ่งหวังให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสถานศกึษาที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนเป็นสำคัญ
การประเมินคุณภาพภายนอก
เพื่อกระตุ้นให้ สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นการสะท้อน จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา เงื่อนไขความสำเร็จของสถานศึกษานั้นๆ พร้อมเสนอแนะ แนวทาง ปรับปรุงให้กับสถานศึกษา และรายงานผลใหห้นว่ยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนทราบต่อไป
การประเมินเพื่อพัฒนา
มีกระบวนการประเมินที่มีคุณภาพทั้งก่อนการประเมิน ระหว่างการประเมิน และหลังการประเมิน รวมทั้งการเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดทำรายงานที่มีผลประเมินตรงตามสภาพจริง ไม่บิดเบือน เชื่อถือได้
มีผู้ประเมินภายนอกที่มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และประเมินด้วยรูปแบบกัลยาณมิตร
มีเกณฑ์และวิธีการประเมินที่มีคุณภาพเข้ากับบริบทของสถานศึกษาและได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการประเมิน
การสะท้อนสภาพจริง
ครูได้รู้ถึงจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ความสามารถทางด้านต่างๆ ที่เหมาะสมและจำเป็นส้หรับครู
ผู้เรียนได้รู้ถึงคุณภาพด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณภาพด้านการใฝ่รู้เรียน คุณภาพด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณภาพด้านวินัยของตนเอง ซึ่งเป็นภาพที่สะท้อนความเป็นจริง
การมีส่วนร่วมในการประเมิน
ต้องมาจากการมีส่วนร่วมการประเมิน มี 2 ด้าน คือ ตนเอง ประเมินตนเอง กับคนอื่นประเมินเรา เพื่อเป็นการตรวจสอบยืนยันซึ่งกันและกัน
การสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายจำเป็นต้องมีความเข้าใจถึงเป้าหมายการประเมินที่แท้จริง ทั้งการประเมินคุณภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ว่าเป้าหมายการประเมิน คือ “การ พัฒนา”
การนำผลประเมินไปใช้
สำหรับสถานศึกษาที่มีผลการประเมินตั้งแต่ระดับพอใช้ลงมาควรมีการวิเคราะห์ จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา โดยนำข้อเสนอแนะจากการประเมินไปจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา และพัฒนาตามแผนให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืนมีการประเมินความสำเร็จ และปรับปรุงพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผน
สำหรับสถานศึกษาที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป ควรมีการพัฒนาให้ต่อเนื่องและยั่งยืน และต่อยอดโดยการนำข้อเสนอแนะจากทิศทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคตไปจัดทำแผนมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา
การสร้างวิถีชีวิตคุณภาพ
หน้าที่ของทุกภาคส่วนที่เข้ามามีส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นในส่วนของการส่งเสริมสนับสนุน อาทิ ต้นสังกัดภาคีเครือข่ายในพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้ปกครองและชุมชน ในส่วนของสถานศึกษาที่เป็นผู้ปฏิบัติ อาทิ ผู้บริหาร ครู ผู้เรียน กรรมการ สถานศึกษา จะต้องปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะสร้างคุณภาพในการทำงานให้เกิดขึ้น โดยในแต่ละแห่งจะมีบริบทที่แตกต่างกันไป การร่วมกันทำงานจนเป็นวิถีชีวิตจะเป็นการบ่มเพาะ “อัตลักษณ์” เฉพาะของสถานศึกษาแต่ละแห่งต่อไป
กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ขั้นตอนที่ 2 การจัดเก็บความรู้
เป็นขั้นตอนการจัดเก็บ รักษา องค์ความรู้ที่ได้จากการสร้างในขั้นตอนที่ 1 ให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม สามารถสืบค้น หยิบจับ หรือนำมาใช้ได้อย่างสะดวก
ขั้นตอนที่ 3 การถ่ายทอดความรู้
เป็นขั้นตอนการเข้าถึงข้อมูลหรือเผยแพร่ข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถถ่ายโอนจากแหล่งหนึ่งไปยังแหล่งหนึ่งด้วยวิธีการต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างความรู้
เป็นขั้นตอนของการได้มาซึ่ง ความรู้ที่นำไปใช้วิธีการได้มาขององค์ความรู้
ขั้นตอนที่ 4 การใช้ความรู้
เป็นการนำความรู้ที่สร้างขึ้นไป ใช้ประโยชน์เพื่อใหบ้รรลุเป้าหมายขององค์กรหรือการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Networking)
ขั้นตอนที่สอง คอื ยุทธศาสตร์การรณรงค์
(2.3) สร้างผลงานให้เป็นที่ยอมรับเพื่อให้ยุทธศาสตรก์ารรณรงค์ได้รับยอมรับมากยิ่งขึ้น
(2.4) สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของแก่สมาชิกเครือข่ายและกระตุ้นให้สมาชิกร่วมเป็นแกนนำในการดำเนินการ
(2.2) ให้ความสำคัญกับสมาชิกเครือข่ายและส่งเสริมให้มีบทบาทและมีส่วนร่วม
(2.5) ใช้ยุทธศาสตร์ในการจูงใจและเสริมด้วยยุทธศาสตร์การประชาสัมพันธ์เพื่อให้การรณรงค์ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้น
(2.1) สร้างความตระหนักของการสร้างเครือข่าย เช่น ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักว่าเครือขา่ยมีประโยชน์อย่างไร
ขั้นตอนที่สาม คือ กิจกรรมการดำเนินงาน
(3.1) ศึกษาปัญหา กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และแผนที่ชัดเจน
(3.2) สร้างแกนนำเผยแพร่วัตถุประสงค์ของการตั้งเครือข่าย
(3.3) หาสมาชิกและจัดทำทำเนียบสมาชิก
(3.4) ระดมความคิดร่วมกันทั้งรูปแบบที่เป็นทางการ เช่น การประชุมหรือรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะหารือ
(3.5) แบ่งบทบาทหน้าที่ของสมาชิก พัฒนาจุดด้อยและส่งเสริมจุดเด่นของเครือข่าย
(3.6) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ขยายผลเชื่อมโยงเครือข่ายอื่น ๆ
(3.7) มีการระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการดำเนินงานเครือข่าย
(3.8) จัดตั้งคลินิกเครือข่ายเพื่อให้คำแนะนำกับสมาชิก
(3.9) มีการรายงานผลการปฏิบัติงานและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนแรก คือ วิธีการแสวงหา ซึ่งเป็นการประชาสัมพันธ์เพื่อหาสมาชิก
กระบวนการพัฒนาโดยการใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาด
ขั้นตอนการใช้ข้อมูลอย่างชาญฉลาด
ระยะที่ 2 การสืบเสาะเพื่อวางแผนการใช้ข้อมูล
ขั้นที่ 4 การวเิคราะห์ข้อมูลคุณภาพผู้เรยีนอย่างลึกซึ้ง
ขั้นที่ 5 การตรวจสอบการจัดการเรียนการสอนของครู
ขั้นที่3 การจัดทำข้อมูลภาพรวมทั่วไปของผู้เรียน
ระยะที่ 3 การลงมือปฏิบัติงาน
ขั้นที่ 6 การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้/แผนปฏิบัติงานของครู
ขั้นที่ 7 การวางแผนเพื่อประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรยีน
ขั้นที่ 8 การปฏิบัติและการประเมินผล
ระยะที่1 การจัดเตรียมข้อมูล
ขั้นที่ 1 การวางระบบการทำงานที่ใช้หลักการร่วมมือรวมพลังเพื่อสร้างวัฒนธรรมการใช้ข้อมูล
ขั้นที่ 2 การพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการประเมินให้ครู
การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์
การใช้ผลการประเมินในเชิงตรวจสอบยืนยัน
การใช้ผลการประเมินในเชิงสัญลักษณ์
การใช้ผลการประเมินในเชิงความคิด
การใช้ผลการประเมินในเชิงปฏิบัติ
การพัฒนางานวชิาการในสถานศึกษาสู่ความยั่งยืน โดยใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ความหมาย
การมีส่วนร่วมของคนในสถานศึกษาที่มีความชำนาญเฉพาะทาง โดยร่วมกันสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้สมาชิกเกิดความอยากรู้อยากเห็น ลงมือปฏิบัติ ปรับปรุง และพัฒนาในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง เพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกัน
ช่วงเวลาของพัฒนาการของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา
ช่วงดำเนินการ
ครูได้รับการมอบหมายให้เข้าทีม และจัดเวลาให้แก่การทำงานร่วมกัน
ช่วงพัฒนา
ครูได้รับมอบหมายให้เข้าทีม มีตารางกำหนดเวลาการประชุมทีมอย่าสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ ประเด็นที่นำมาหารือกันพุ่งไปที่เรื่องสำคัญที่มีผลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของศิษย์มีการติดต่อการทำงานของทีมอย่างใกล้ชิด
ช่วงยั่งยืน
การทำงานเป็นทีมได้กลายเป็นวัฒนธรรมฝังลึกในโรงเรียน ครูมองการทำงานเป็นทีมว่าช่วยให้ตนทำหน้าที่ครูแบบพัฒนา ยกระดับเร่ือยไปไม่จบสิ้นทีมครูทำงานแบบกำหนดเป้าหมายด้วยตนเอง
ช่วงเริ่มต้น
ครูได้รับการส่งเสริม (แต่ไม่บังคับ) ให้ทำงานรว่มกันเป็นทีม
ปัจจัยสนับสนุนความสำเร็จของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
ชุมชนกัลยาณมิตร (Caring Community)
โครงสร้างสนับสนุนชุมชน (Supportive Structure)
การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ (Professional Learning and Development)
ภาวะผู้นำร่วม (Shared Leadership)
ทีมร่วมแรงร่วมใจ (Collaborative Teamwork)
วิสัยทัศน์ร่วม (Share Vision)
สรุป
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นกระบวนการที่สถานศึกษาต้องดำเนินงานตามแนวทางการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยมีแนวคิดการดำเนินงานที่น่าสนใจและได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย เช่น กระบวนการพัฒนาโดยการใช้ข้อมูล อย่างชาญฉลาด (Data Wise Improvement Process) การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (Networking) และการนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ (Evaluation Utilization) รวมถึงชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา ซึ่งการนำแนวคิดเหล่านี้ไปดำเนินงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่องของสถานศึกษา มิใช่เป็นการเพิ่มภาระงานที่มากขึ้น แต่เป็นการส่งเสริมหรือสนับสนุนให้โรงเรียนมีระบบหรือวิธีการที่จะพัฒนาโรงเรียนตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นฐานในการขับเคลื่อนให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน
นางสาว ลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต60204248 สาขาชีววิทยา คณะวิทยาลัยการศึกษา