Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะมดลูกแตก Uterine-rupture, นางสาวจิตรวรรณ คลิ้งคล้าย…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะมดลูกแตก
-
-
-
ลักษณะของมดลูกแตก
2.มดลูกแตกไม่สมบูรณ์ (Incomplete rupture) รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum คือ มีการฉีกขาดของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น ส่วนชั้น peritoneum ยังคงปกติดีอยู่
3.มดลูกปริ (Dehiscence) อาจไม่พบอาการอะไรเลย ในรายที่เคยผ่าตัดมดลูก แผลเก่าอาจปริแยกจากกันโดยเยื่อหุ้มรกยังไม่แตก ซึ่งอาการอาจดำเนินอย่างค่อยๆเป็นค่อยๆไป และในระยะคลอดมดลูกปริ อาจจะกลายเป็นมดลูกแตกได้
1.มดลูกแตกสมบูรณ์ (Complete rupture) รอยแตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) มดลูกแตกลักษณะนี้ ทารกมักจะหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
ผลกระทบ
-
ผลกระทบต่อมารดา
อัตราตายของมารดาจากมดลูกแตกเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่สัมพันธ์กับการเสียเลือดทั้งก่อนและหลังคลอด และเกิดดารติดเชื้อ
ความหมาย
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังมดลูก ในขณะตั้งครรภ์หลังจากทารกโพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ และเกิดการฉีกขาดระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างเจ็บครรภ์ หรือระหว่างการคลอด โดยไม่รวมการแตกหรือฉีกขาดในการตั้งครรภ์นอกนอกมดลูก หรือการทะลุของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
การรักษา
-
-
-
5.ถ้าเลือดออกอีกอาจต้องทำผ่าตัด เพื่อผูก hypogastric arteries ทั้งสองข้างร่วมด้วย ภายหลังการตัดมดลูกออกแล้ว
4.การเย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูก รายที่เย็บซ่อมแซมอาจพบความเสี่ยงต่อมดลูกแตกซ้ำ ในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
-
สาเหตุ
-
-
2.การทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก เช่น การทำคลอดด้วยคีม การทำคลอดท่าก้น การหมุนเปลี่ยนท่าเด็กจากภายใน
-
-
-
-
-