Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor)
ความหมาย
หมายถึง การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมด ประมาณ 3 ชั่วโมง หรือใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ2-4 ชั่วโมง และมีการเปิดขยายของปากมดลูก ในระยะปากมดลูกขยายเร็ว5 เซนติเมตร/ชั่วโมงในผู้คลอดครรภ์แรก1 (เซนติเมตร ทุก12 นาที) และ มากกว่า10 เซนติเมตร/ชั่วโมงในผู้คลอดครรภ์หลัง(1เซนติเมตร ทุก6 นาที)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
5.เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
6.ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง ซึ่งพบได้น้อยมาก
4.ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
7.ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด ทำให้เคลื่อนต่ำลงมาได้ง่าย
3.ผู้คลอดครรภ์หลังเนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก จึงทำให้ส่วนต่างๆได้แก่ คอมดลูก พื้นเชิงกรานช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
8.ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
2.การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติโดยเกิดขึ้นเองหรือ จากการให้ยาเร่งคลอดมากผิดปกติ
1.แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
อาการและอาการแสดง
2.มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างถี่และรุนแรง5 ครั้งในเวลามากกว่า10 นาที
3.ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด10เซนติเมตรหรือมากกว่า10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
1.มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
การวินิจฉัย
3.มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง มีการหดรัดตัวทุก2นาทีหรือบ่อยกว่านั้นและ ระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกนานมากกว่า90วินาที หรือไม่มีการคลายตัวในระยะที่ควรเป็นระยะพัก
4.ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ50-70 มิลลิเมตรปรอท
2.อัตราการเปิดขยายของปากมดลูกเปิดมากกว่า5 เซนติเมตร/ชั่วโมงในครรภ์แรก และเปิด มากกว่า10 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในครรภ์หลัง
1.ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า3ชั่วโมง
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
4.อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
5.มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
3.ตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีเลือดออกจากแผล และระยะหลังคลอด กล้ามเนื้อมดลูกอ่อน ล้าจึงหดรัดตัวไม่ดี
6.เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
2.มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
7.อาจเกิดมดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
1.เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาได้แก่ปากมดลูกช่องคลอดฝีเย็บ ลักษณะของ แผลเป็นแบบกะรุ่งกะริ่ง
ทารก
5.สายสะดือขาดขาดเนื่องจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
6.ถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ( caul delivery ) ทารกอาจสำลักน้ำคร่ำได้ ซึ่งมักพบในทารกที่ อายุครรภ์น้อย
4.ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
7.ทารกอาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้เตรียมทำความสะอาดก่อนคลอด
3.อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน(asphyxia)
8.รกลอกตัวก่อนกำหนด
2.อาจมีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป ทารกไม่สามารถยกมือได้
9.ถ้าให้การช่วยเหลือช้า ทารกอาจเกิดภาวะหนาวสั่น หรือการช่วยฟื้นคืนชีพช้าทำให้เสีย
1.เลือดออกในสมอง ( subdural hemorrhage)
การประเมินสภาพ
1.การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการคลอดเฉียบพลัน หรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์หรืออาการอื่นๆ ร่วมกับการเจ็บครรภ์
2.การตรวจร่างกาย
2.1 การตรวจภายใน เพื่อประเมินอัตราการเกิดขยายของปากมดลูก
2.2 ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
2.3 การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ ร่วมกับการmonitor EF
3.ภาวะจิตสังคมได้แก่ ประเมินความวิตกกังวล และความหวาดกลัวของผู้คลอดเกี่ยวกับภาวะ สุขภาพของทารกเนื่องจากการคลอดเร็ว
การพยาบาล
1.มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว ต้องระมัดระวังในการให้การพยาบาลโดยการประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด ดังนี้
1.2 ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
1.3 พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอด ในมารดาที่มีประวัติการคลอดเร็วควรย้ายเข้าห้อ คลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร
1.1. ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก และฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ ทุก 30 นาที
2.ให้การดูแลตามอาการ กรณีที่จะมีภาวะคลอดเฉียบพลัน ดังนี้
2.1 กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบา ๆ เข้าออกทางปากและจมูก
2.2 ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ พร้อมทั้งใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนทารกจะคลอด
2.3 ในกรณีที่มารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง และศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ให้กางขา มารดาออก
2.4 จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและ ทารกออก
3.ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด ในกรณีที่มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด และมดลูกห รัดตัวไม่ดี เพื่อปูองกันการตกเลือดหลังคลอด
4.แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรัก เพื่อปูองกันการติดเชื้อหลังคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ช่องทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติเนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
ไม่ทอดทิ้งผู้คลอดให้อยู่ตามลำพัง และพิจารณาการย้ายผู้คลอด
4.ประเมินprobable sign ได้แก่Interval สั้นDuration ยาว มีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด ฝี เย็บโปุงตึง มัน รูทวารหนักเปิดขยาย หากมีอาการแสดงเหล่านี้ ให้ตรวจภายใน
กระตุ้นและควบคุมให้มารดาหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ เข้าออกทางปากและจมูก เมื่อปากมดลูก เปิดหมด
5.ประเมินความรู้และให้ข้อมูลที่จ าเป็น เกี่ยวกับกระบวนการคลอด เทคนิคการหายใจและการ ผ่อนคลาย
หยุดการให้ยาOxytocin ในมารดาที่มีอาการแสดงภาวะที่จะคลอดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
2.เจ็บครรภ์มาก เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวแรงและถี่มาก
3.จัดให้มารดานอนตะแคงซ้าย เพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวประสานกันดี
4.อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจแก่ผู้คลอด หรือหมั่นดูอาการอย่างสม่ำเสมอ
2.สอนเทคนิคการหายใจและการผ่อนคลาย
5.ดูแลความสะอาดของร่างกาย และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาด
1.ช่วยนวดบริเวณหลังและต้นขา เพื่อการผ่อนคลายของกล้ามเนื้อ และช่วยให้มารดามีความสบายขึ้น
6.ไม่ควรให้ยาบรรเทาปวด เพราะจะทำ ให้การคลอดดำเนินไปเร็ว และยาจะกดศูนย์หายใจของ
ทารก
3.ทารกอาจได้รับอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
3.ถ้าถุงน้ำยังไม่แตกผู้คลอดเบ่งคลอดให้เจาะถุงน้และคร่ำขณะที่มดลูกคลายตัว
4.ถ้าทารกคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ไม่ควรจับต้องทารกมากเกินไป
2.ทำคลอดทารกโดยใช้หลักปราศจากเชื้อ
5.ใช้ลูกสูบยางแดงดูดเมือกและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกของทารก โดยจัดให้ทารกนอนต่ำกว่าศีรษะและลำตัว
1.จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำคลอดและอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพทารกไว้ให้พร้อม
6.ประเมินคะแนนAPGAR ใน 1 นาที และ5 นาที
7.เตรียมอุปกรณ์และให้ความช่วยเหลือในการประเมินสภาพทารก
8.ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
4.อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดเฉียบพลัน
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
4.ตรวจสอบความสมบูรณ์ในการลอกตัวและการคลอดของรก เพื่อเป็นการยืนยันว่าไม่มี ส่วนใดของรกหรือเศษเยื่อหุ้มรกค้างอยู่ในมดลูก
2.สังเกตปริมาณเลือดที่อกทางช่องคลอด ถ้าออกมากกว่า100มิลลิลิตร/ชั่วโมง ให้รายงานแพทย์
5.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างทุก3-4 ชั่วโมงเพื่อไม่ให้ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
1.สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกถ้ามดลูกนุ่มคลึงมดลูกและไล่ก้อนเลือด
6.ตรวจสอบการฉีกขาดของช่องทางคลอด และรีบทำการเย็บซ่อมแซม