Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก, นางสาวแก้วพิรมย์…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก
แนวคิดสำคัญ
การควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ
โรคลมชัก
อาการ
ระยะชัก(lctal event)
เกิดทันที เวลาสั้น <5m
ระยะสิ้นสุดการชัก (postictal period) เกิดหลายวินาที ส่วนใหญ่เกิด<24 hr. เปลี่ยนแปลงของคลื่นสมอง
postical paralysis
automatism เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ
ระยะก่อนชัก(preictal period)
อาการนำ
อาการเตือน
แตกต่างตามตำแหน่งของสมอง
เห็นภาพหลอน
ปวด ชา
interictal peroid
เวลาหลังการชักครั้งแรก - ชักครั้งใหม่
ชนิด
ชักเฉพาะที่
ขาดสติ;ไม่รู้ตัวจำเหตการณืในช่องชักไม่ได
ตามด้วยชักทั้งตัว:ชักจากส่วนหนึ่งไปทั่วร่างกาย
มีสติรู้ตัว
ชักทั้งตัว
ชักสะดุ้ง กล้ามเนื้อหดตัว รุนแรงเร็ว
ชักเกร็ง เกร็งแช็งของกล้ามเนื้อ สั่น ไม่รู้สึกตัว
ชักกระตุก กระตุกเป็นจังหวะ
ชักตัวอ่อน กล้ามเนื้อไม่ตึงตัวมีพัฒนาการช้า
เกร็งกระตุกทั้งตัว ตามด้วยกล้ามเนื้อกระตุ๊ก
ชักเหม่อลอยไม่รู้สึกตัว กล้ามเนื้อหดตัว รุนแรงเร็ว
meningitis
อาการ
ตรวจ kerning sige, brudzinski sign positive
คอแข็ง(nuchal rigidity)
ชนิด
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
PMN <300/mm3
เฉียบพลันจาไวรัส
lmononucleosis>300/mm3
เชื้อที่พบ
nesseria meningitidis
H.influenzae
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
ติดเชื้อ nesseria meningitides
ตรวจ PCR,MIC
ระติดต่อ
พาหะ และผู้ป่วย สามารถแพร่ได้จนกว่าจะตรวจไม่พบ เชื้อในน้ำมูก น้ำลาย เชื้อจะหมด nasopharynx ใน 24ชม.
รักษา
ยาปฏิชีวนะ ceftriaxone ,PGS,CHLORAMPHENICAL
อาการ
อาเจียน คอแข็ง จ้ำเลือด(pink macules)
meningococcemia
acut
ไข้ ผื่นแดงจ้ำจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ ผื่นหลังไข้ขึ้น 1-2 วัน
choronic
ผื่นแดงจ้ำ ปวดข้อเป็นดือน ไข้เป็นเป็นหายๆ
meningitis
คอแข็ง ซึม สับสบ
ภาวะชักจากไข้สูง
อาการ
อาการชักเกิด 24 ชม.เริ่มมีไข้
พบมาก 17- 24เดิอน
อุณหภูมิ 39 องศา
ชนิด
simple febrile seizure (primary)
ชักทั้งตัว (generalized seizure)
ชักช่วงสั้นๆ < 15 m
complex febrile seizure
ชักช่วงสั้นๆ >15 m
ชักทั้งตัวหรือเฉพาะที่ (local generalized seizure)
ประสาทผิดปกติ
ได้ยากันชัก phenobarbital หรือ valproic acid
ความไม่รู้สึกตัว
ท่าทางของเด็กไม่รู้สึกตัว
decorticate posturing
decerebrate posturing
ระดับความรู้สึกตัว
รู้สึกง่วงงุ่น
เคลื่อนไหวได้เล็กนน้อย พูดช้า ถ้ากระตุ้นแล้วไม่โต้ตอบ เรียก abtundation
รับรู้ผิดปกติ
ไม่รับรู้ เวลา บุคคล
รู้สึก stupor
หลับลึก กระตุ้นรุนแรงจะตื่น เช่น ส่งเสียงครางเบาๆ
รู้สึกสับสน
ผิดปกติเกี่ยวกับก่ารตัดสินใจ
หมดสติ (coma)
ไม่สอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นเกิดการเจ็บปวด
รู้สึกตัวดี
ผู้ป่วยตื่น รูสึกตัวดี รับรู้ เวลา บุคคล
นางสาวแก้วพิรมย์ เจริญ เลขที่ 9 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา613601010