Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท :smiley:, 7, epilepsy-29-638,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท :smiley:
ภาวะชักจากไข้สูง Febrile convulsion :silhouettes:
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
2.มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
3.ประวัติชักของสมาชิกในครอบครัว
1,อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุอายุก่อน 1 ปี
4.ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื อ
สาเหตุ
การติดเชื อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื อระบบ
ทางเดินอาหาร , ทางเดินปัสสาวะ , ทางเดินหายใจ
คือ อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื อของระบบประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่ ในเด็กที่อายุมากกว่า 1 เดือนโดยที่เด็กไม่เคยมีอาการชักโดยไม่มีอาการไข้มาก่อน
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชักเกิดขึ นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปีพบมากช่วงอายุ 17 – 24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
ไม่มีการชักซ าในการเจ็บป่วยครั งเดียวกัน
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั น ๆ ไม่เกิน 15 นาที
การชักเป็นแบบทั งตัว (generalized seizure)
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั งตัว
(Local or Generalized seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ าในการเจ็บป่วยครั งเดียวกัน
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาทเด็กที่ชักชนิด complex มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก แพทย์จะให้ยาป้องกันการชัก เช่น Phenobarbital หรือ Valproic acid
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก
ประเมินและบันทึกลักษณะการชักลักษณะของใบหน้า ตา ขณะชัก ระดับการรู้สติ ของผู้ป่วยก่อนระหว่างและหลังการชักระยะเวลาที่ชักทั้งหมดจ านวนครั้งหรือความถี่ของการชักทั้งหมดเพื่อวางแผนการพยาบาลได้ถูกต้องและรวดเร็ว
ขณะชักจัดให้ผู้ป่วยตะแคงหน้าเพื่อให้น้ าลายไหลออกจากปาก ไม่ส าลักเข้าไปในทางเดินหายใจ และลิ้นไม่ตกอุดหลอดลม รวมทั้งดูแลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ
ดูแลดูดเสมหะออกจากปากและจมูกบ่อยๆเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ใช้ผ้านิ่มๆเช่นผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัวหนุนบริเวณใต้ศีรษะเพื่อป้องกันศีรษะกระแทกกับพื้นเตียง
Observe vital signs ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินลดลง อุณหภูมิและการหายใจ
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ าอุ่นนาน 10–15 นาที ทุก 2 ชั่วโมงเวลามีไข้สูงเกิน 38 องศาเซลเซียส เพราะไข้สูงจะกระตุ้นให้เกิดการชักซ้ าได้อีก
ดูแลสิ่งแวดล้อมข้างเตียงให้สะอาดเหมาะแก่การพักผ่อนเผื่อลดเมตาบอลิซึมของร่างกาย
ดูแลให้Oxygen, สารน้ า, และยาตามแผนการรักษา
การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก
1.ประวัติ : การคลอดของเด็ก การเจ็บป่วยหลังคลอด อารมณ์ของครอบครัว การเลี้ยงดู
2.การตรวจร่างกาย : ลักษณะทั่วไป สัญญาณชีพ ศีรษะ ตา หู ปากและฟัน
โรคลมชัก (Epilepsy) :silhouettes:
สาเหตุ
คือ ภาวะทางระบบประสาทที่กิดจากความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางซึ่งทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของร่างกายทำให้เกิดอาการชักซ้ำ ๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจัยกระตุ้น
อาการและอาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชั
อาการนำ (Seizure prodromes) : มีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก ไม่มีอาการจ าเพาะ
ระหว่างการเกิดจะไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
อาการเตือน (Aura) : ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตาม
ต าแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน เป็นต้น
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดในระยะเวลาสั น ๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง มีส่วนน้อยที่ชักและดำเนินต่อเนื่องเป็น Status epilepticus
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ นสุดลงส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง มีอาการได้แก่
สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชักมักเป็นการเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์ของกล้ามเนื อไม่มีจุดประสงค์แต่เลียนแบบท่าทางปกติ เช่น เคี ยวปากกระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่ำหงายสลับกัน
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั งใหม่ โดยทั่วไปจะไม่มีอาการ
แสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดของโรคลมชักและกลุ่มอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
1.1 ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
1.2 อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
1.3 อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal with secondarily generalized seizures)
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures) เกิดการเสีย
หน้าที่ของสมองทั้ง 2 ซีก
2.1 อาการชักเหม่อ (Absence)
กลุ่มอาการชักเหม่อแบบตรง : ชักลักษณะเหม่อลอยไม่รู้สึกตัว ระยะเวลาที่เกิดอาการประมาณ 5 – 10 วินาที อาการเกิดขึ้นทันทีและหายทันที
1.อาการชักเหม่อที่ไม่รู้ตัวหรือไร้สติเท่านั้น
2.อาการชักเหม่อที่มีอาการกระตุกหรือสะดุ้งเป็นช่วงเวลาสั นๆ อาจมีหนังตากระตุกร่วมด้วยอาการชักกระตุก (Clonic seizures) อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures) ชักเกร็งกระตุกทั งตัว ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนื อทั งตัวนานไม่เกิน30 วินาที ตามด้วยกล้ามเนื อกระตุกเป็นจังหวะ นานประมาณ 1 – 2 นาที โดยทั่วไปอาการจะมีระยะเวลารวมไม่เกิน 5 นาที
3.อาการชักเหม่อที่มีอาการตัวอ่อนร่วมอาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures) เป็นอาการชักที่มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื ออย่างทันทีเมื่อเกิดอาการชัก เวลาประมาณ 1-2 วินาที มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 5 ปี และในรายที่มีพัฒนาการช้า
อาการชักเหม่อที่มีอาการเกร็งกล้ามเนื อร่วม อาการเกร็งเฉพาะที่กล้ามเนื้อใบหน้าหรือคออาการชักเกร็ง (Tonic seizures) เป็นการชักมีลักษณะเกร็งแข็งจากกล้ามเนื อมีความตึงตัวมากขึ น เกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที เมื่อ
มีอาการจะมีลัษณะแขนขาเหยียดตรง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) :silhouettes:
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นการติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง (Meningitis) เป็นบริเวณส่วนที่เป็นเมมเบรน ปกป้องหุ้มเนื้อสมองและไขสันหลัง ซึ่งมีอาการสำคัญ คือ ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ไม่สู้แสง คลื่นไส้อาเจียนและมีอาการแสดงของการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมองเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Eosinophilic meningitis เกิดจากพยาธิ เช่น ตัวจี๊ด จากการรับประทานอาหารสุกๆดิบๆ หรือการว่ายน้ าในหนอง บึงหรือ
ดื่มน้ าที่ไม่สะอาดมีการปนเปื้อนเชื้ออะมีบา
การติดเชื้อรา (fungal meningitis) เช่น Candida albicants, Cryptococcus neoformans เป็นต้น
Viral meningitis หรือ Aseptic meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
ปฏิกิริยาที่ไม่ใช่การติดเชื้อ (non-infections diseases) เช่น
5.1 เนื้องอก (Malignancy) เช่น primary medulloblastoma, metastatic leukemia
5.2 การบาดเจ็บ/กระทบกระเทือนของสมอง (trauma) เช่น subarachnoid bleed, traumatic lumbar puncture,
การผ่าตัดทางระบบประสาท
5.3 การได้รับสารพิษ จากตะกั่ว ปรอท
Bacterial meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียพบได้ไม่บ่อยเท่าเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสแต่ภาวะโรครุนแรงมากกว่า ซึ่งแบ่งตามเชื้อต้นเหตุได้อีก 2 ชนิดคือ
อาการทางคลินิก แตกต่างกันขึ้นกับอายุของเด็ก
ทารกจะซึม ไม่ดูดนม ชัก
ทารกอายุ 3 เดือน ถึง 1 ปีมีไข้ ขม่อมหน้าโป่งตึง มีอาการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง (ตรวจพบ Stiffneck, Kernig's sign, Brudzinski's sign)
เด็กโต มีอาการของการติดเชื้อ อาการแสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมองและอาการที่บ่งถึงภาวะแทรกซ้อน เช่น ศีรษะโต ฝีในสมอง
การวินิจฉัยโรค
จากประวัติ
อาการทางคลินิก และการตรวจร่างกาย
การตรวจเลือดและนํ้าไขสันหลัง
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ตามเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรค นาน 10-14 วัน
รักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ยาลดสมองบวม
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะแรก เช่น ชัก สมองบวม ฝีในสมอง หนองใต้ชั้นดูรา
ระยะหลัง เช่น ปัญญาอ่อน อัมพาตของแขนขา โรคลมชัก ศีรษะโต
โรคไข้กาฬหลังแอ่น Meningococcal meningitis :silhouettes:
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว เรียงตัวกันอยู่เป็นคู่ๆ โดยหันด้านเรียบเข้าหากัน ไม่สร้างสปอร์ W135
วิธีติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน โดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้ ามูก น้ าลาย (droplet)จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ (ผู้ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ) หรือผู้ป่วย โดยมีระยะฟักตัวประมาณ 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง ผ่านระบบทางเดิน
หายใจ เชื้อนี้ท าให้เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้าในกระแสเลือด โดยเลือดจะมาหล่อเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจ านวนมาก ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่รุนแรงจะมีเลือดออกในล าไส้และต่อมหมวกไต
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทำให้เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์ ท าให้เกิดการอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย มักไม่มีอาการ ส่วนใหญ่พบกลุ่มนี้มาก และมักเป็นต้นตอของการแพร่เชื้อต่อไปได้อีก
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ าเลือด(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่มาด้วยอาการส าคัญ 2 อย่าง คือ
Meningococcemia
Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็นอาการน ามาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง
นอกจากนี้ อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้ าขึ้นตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้ าจนเป็นสะเก็ดสีด า บางทีเป็นตุ่มน้ำมีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Meningitis
Meningitis มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด อาจพบอาการที่แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมองผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้ าเลือดออกตามผิวหนัง
การรักษา
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน และผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด(Close contact) กับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกันได้แก่Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus) :silhouettes:
อาการสำคัญ
คือ ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก (OF circumference > C circumference2.5cms), ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Obstructive Hydrocephalus : ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus : ความผิดปกติในการดูดซึมน้ าไขสัน
หลัง post meningitis
Congenital Hydrocephalus : ความผิดปกติในการสร้างน้ าไขสันหลัง
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ
สร้างน้ำล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
การผ่าตัด เพื่อแก้ไขสาเหตุโดยตรง หรือ เพื่อเปลี่ยนทางผ่านของนํ้าไขสันหลังไปทางอื่น เช่นการทํา
Ventriculo-Atrial shunt และ Ventriculo-Peritoneal shunt
หลักการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1. เสี่ยงต่อการติดเชื้อจากการทําผ่าตัด shunt replacement หรือจากการทําหัตถการต่างๆ
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ไม่เกิดการติดเชื้อจากการผ่าตัดหรือจากการทําหัตถการต่างๆ
การพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพเปรียบเทียบก่อนและหลังผ่าตัดและประเมินเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เช่น ทุก 4-6 ชั่วโมง
2.ประเมินและดูแลความสะอาดบริเวณที่มีผ้าปิดแผล เช่น ที่ศีรษะ อกหรือหน้าท้อง
3.ให้ยาปฏิชีวนะและอื่นๆ ตามแผนการรักษาทั้งก่อนและหลังผ่าตัด.
4.ดูแลการได้รับนํ้าและอาหาร ตลอดจนความสะอาดทั่วไปของร่างกาย
5.แนะนําผู้ปกครองให้มีส่วนรวมในการดูแลผู้ป่วย เพื่อประโยชน์ทางด้านจิตใจ อารมณ์และเน้นด้านการป้องกันการติดเชื้อสู่ผู้ป่วย
สมองพิการ(Cerebral palsy : CP) :silhouettes:
คือ ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวการทรงตัว ชนิดของสมองพิการ
ชนิดของสมองพิการ
1.กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
1.1. Spastic Cerebral palsy (Pyramidal) ชนิดแข็งเกร็ง ผู้ป่วยเด็กจะมีพยาธิสภาพ ที่ motor cortex จะมีความ
ตึงตัวของกล้ามเนื้อแขนขามากกว่าปกติผู้ป่วยมักจะเกิดข้อติดแข็งได้ง่าย
1.2. Extrapyramidal Cerebral palsy มีกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก (Hypotonic) ผู้ป่วยเด็ก จะมีพยาธิสภาพที่ Basal ganglia
1.3 Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis) การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหวการทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด เช่น เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้นเด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย ตัวเกร็งแข็ง
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติพัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
หลักการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1. ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆลดลง เนื่องจากช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย
การพยาบาล
1.ประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเองหรือในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผู้ป่วย
2.ช่วยวางแผนในการดูแลร่วมกับผู้ปกครอง และกระตุ้นให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเอง โดยให้เวลาในการทํา
3.กระตุ้นให้ออกกําลังกายบนเตียง
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารและนํ้าอย่างเพียงพอ
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ช่วยเหลือตนเองได้เพิ่มขึ้น