Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ชนิดเครื่องหายใจ
ควบคุมความดัน
ควบคุมปริมาตรลม
ควบคุมดเวยเวลาหายใจเข้า
ควบคุม ด้วยปริมาตรการไหลของลม
วงจรพิ้นฐานของเครื่องช่วยหายใจ
gas inlet
machine
nebulizer or humidfier
Inspiratory pathway
Expiratory pathway
Expiratory valve
ฺBreath type
mandatory เป็นการหายใจที่ควบคุมด้วยเครื่อง
Assisted เป็นการกระตุ้นให้เครื่องทำ
Supported กำหนดการหายใจออก
Spontaneous การหายใจเข้า
วิธีการหายใจ
Control mechanical ventilation
Assisted Control ventilation
Synchonized intermittent mandatory ventilation ( SIMV )
Pressure support
Positive end expiratory pressure
Continuous Positive airway pressure
control mechanical ventilation
หลักการใช้ :- ผู้ป่วยไม่หายใจเอง
ต้องการควบคุมการช่วยหายใจทั้งหมด
ผู้ป่วย Tetanus
ข้อดี : - เป็น Mode ที่ใช้ง่าย
เป็น Mode มีในเครื่องช่วยหายใจทุกเครื่อง
ข้อเสีย : - ต้องใช้ยา Sedative
ต้องติดตาม ABG บ่อย
ผู้ป่วยอาจรู้สึกหายใจลำบาก
assist control ventilation
เป็นการช่วยหายใจแบบที่เครื่องช่วยหายใจถูกกระตุ้นโดยการหายใจของผู้ป่วยบางส่วนหรือทั้งหมด ขึ้นกับอัตราการหายใจของผู้ป่วยและอัตราการหายใจของเครื่องที่ตั้งไว้
โดยที่จะเป็นการช่วยแบบ Full support หรือผู้ป่วยออกแรงมากน้อยเพียงใด (WOB)จะขึ้นกับ sensitivity , peak inspiratory flow และ respiratory drive ของผู้ป่วยเอง
การตั้ง Flow rate มีความสำคัญมาก ควรให้เพียงพอต่อ Flow demand ของผู้ป่วย
ข้อดี :
ใช้ง่าย คุ้นเคย
ใช้ได้ทุกประเภทของผู้ป่วย
ไม่ต้อง paralyze ผู้ป่วย
ใช้ได้ในเครื่องช่วยหายใจทุกเครื่อง
ข้อเสีย :
อาจเกิด Respiratory alkalosis
อาจเกิด Dys-synchrony ได้ง่าย
Intermittent mandatory ventilation
เครื่องจะทำงานให้ mandatory ventilation breath ในอัตราที่ตั้งไว้คงที่
ผู้ป่วยสามารถหายใจ Spontaneous ระหว่าง Mandatory breath
ปัญหาที่พบ :
ความไม่สัมพันธ์กันระหว่างการหายใจของผู้ป่วยกับเวลาที่เครื่องทำงาน ทำให้เกิดภาวะ Breath tracking
synchonized Intermittent mandatory ventilation
หลักการทำงาน
เครื่องให้ IMV ให้สัมพันธ์กับช่วงที่ผู้ป่วยเริ่มหายใจกระตุ้นเครื่อง
หลักการใช้ : ใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการ การช่วยหายใจบางส่วน
ข้อดี
ช่วย Maintain Respiratory muscle strength
Mean airway pressure น้อยกว่า CMV
ใช้ในการ Wean ผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจยาก
ข้อ้สีย
ทำให้เกิด hypoxemia ได้
ผู้ป่วยจะเหนื่อยมากหากยังไม่พร้อม
pressure supprot ventilation
ข้อดี
ควบคุม Pressure ไม่สูงเกินไปจนเป็นอันตราย ไม่ควรเกิน 35 cmH2O ใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาปอดแข็ง เช่น ARDS
High decelerating flow
Volume distribution ดีกว่า VCV
ข้อเสีย
ถ้าใช้แบบ irv จะต้องใช้ยา sedate และยาคลายกล้ามเนื้อ
continuous positive airway pressure
ข้อดี
ลดผลการแทรกซ้อนจากเครื่องช่วยหายใจ
ใช้แบบ Non invasive ventilation ได้
ใช้เสริม mode PSV เพื่อลด Work of Breathing
ข้อเสีย
ความผิดปกติจากการทำงานของช่วยหายใจ
ระบบการต่อของเครื่อง
ความผิดปกติของการทำงาน
ระบบการเตือนความผิดปกติ
การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
ระบบความชุ่มชื้น
ข้อบ่งชี้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ
ป้องกันหรือแก้ไขภาวะ upper airway obstruction
ผู้ป่วยการหายใจล้มเหลวที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันการสำลักอาหารในกระเพาะอาหาร
ดูดเสมหะในหลอดลม
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
หนึ่งของการดูแลผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ เพื่อใหผู่ป่วยได้กลับมาหายใจได้เอง แพทย์และพยาบาลผู้ดูแลที่ใส่เครื่องช่วยหายใจต้องตัดสินใจ ประเมินและดูแลที่หย่าเครื่องช่วยหายใจ
จะหย่าเครื่องช่วยหายใจได้เร็วและง่ายกว่าผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่ปอด การดูแลผู้ป่วยหยา่เครื่องช่วยหายใจ จึงท้าท้ายความสามารคของพยาบาล
การหย่าเครื่องช่วยหายใจประกอบ
ขั้นตอนการหย่าจากการช่วยหายใจของเครื่อง
ขั้นตอนการหย่าจากออกซิเจน
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
clinical factors
pulmonary gas exchange
pulmonary mechanics
ความพร้อมทางจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี
ไม่มีภาวะทุพโภขนาการ
ใช้ยานอนหลับ หรือยาแก้ปวดลดลง
วิธีการหย่าเครื่องหายใจ
convntional T-piece method
Intermittent mandatory ventilation
Pressure support ventilayion
Continuous poritive airway pressure
ภาวะที่เครื่องบ่งชี้ควรยุติการหย่าเครื่องหายใจ
ความดันโลหิตเพิ่มหรือลดจากเดิมมากกว่า 20 mmHg
ชีพจรหรืออัตราการเต้นหัวใจเพิ่มหรือลดลง มากกว่า 20 ครั้งต่อนาที
ออกซิเจน saturation มาก 90
EKG มี arrhytthmia
skin มีเหงื่อออกมาก
ABG,PH มาก 7.35 จากการคั้งของ CO2
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เจ็บหน้าอก อ่อนเพลีย
การพยาบาลผู้ป่วยขณหย่าเครื่องหายใจ
อธิบายขั้นตอนการหย่าเครื่องหายใจรับทราบเพื่อให้ความร่วมมือและพยายามหายใจด้วยตนเองตลอดจนให้กำลังใจ ความมั่นใจ
จัดให้ผู้ป่วยนั่งศีรษะสูงหรือนั้งหลังตรง
ก่อนเริ่มหย่าเครื่องหายใจ ต้องดูมเสมหะก่อนและให้ผู้ป่วยพักหลังดูดเสมหะประมาณ 15 นาที จากนั้นเริ่มการหย่าเครื่องช่วยหายใจและดูดเสมหะขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจเท่าที่จำเป็น
้เจาะและส่งตรวจ ABG
ให้ผู้เริ่มกระบวนการหย่าเครื่องหายใจ ตามวิธีที่เลืกใช้
สังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงร่างกาย
วัดและบันทึกlung mechanic หรือ weaning record
สังเกตและบันทึก กล้ามเนื้ออ่อนแรง มีอาการอ่อนเพลีย หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก