Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาสุภาพแห่งชาติที่ 1 – 11 - Coggle Diagram
แผนพัฒนาสุภาพแห่งชาติที่ 1 – 11
ฉบับที่ 11 พ ศ 2555 — 2559
ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายมีศักยภาพ และสามารถสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ลดการเจ็บป่วยจากโรคที่ป้องกันได้
มีระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยที่ไวพอ ทันการณ์ และสามารถจัดการปัญหาภัยคุกคามสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีระบบสุขภาพเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
มีระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถตอบสนองต่อความต้องการตามปัญหาสุขภาพ และมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ
มีระบบบริหารจัดการและการเงินการคลังด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ
ฉบับที่ 10 พ ศ 2550-2554
การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ
ารสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งสุขภาวะ
การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข
การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ
การสร้างทางเลือกสุขภาพที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากล
การสร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้
ฉบับที่ 9 พ ศ 2545 - 2549
มีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียงทางสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน
มีความรอบคอบและรู้จักความพอประมาณอย่างมีเหตุผลในด้านการเงินการคลังเพื่อสุขภาพในทุกระดับ
มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และใช้อย่างรู้เท่าทัน โดยเน้นภูมิปัญญาไทยและการพึ่งตนเอง
มีการบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค
มีระบบภูมิคุ้มกันที่ให้หลักประกันและคุ้มครองสุขภาพของประชาชน
มีคุณธรรม จริยธรรม คือความซื่อตรง ไม่โลภมาก และรู้จักพอ
ฉบับที่8 พ ศ 2540-2544
ปฏิรูประบบบริหารจัดการด้านสาธารณสุข
พัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุข
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อควบคุมการป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพ
ผลิตและพัฒนากำลัง คนด้านสุขภาพอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและทั่วถึง
ศึกษาค้นคว้าวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีสาธารณสุข
เสริมสร้างและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยให้เหมาะสม
ฉบับที่7 พ ศ 2535-2539
เน้นการพัฒนาสถานีอนามัยให้เป็นจุดเชื่อมของงานสุขภาพดีถ้วนหน้า
การพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพ
เน้นการพัฒนาคุณภาพบริการและการแก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากรที่ลาออกไปอยู่ภาคเอกชน
ฉบับที่1 พ ศ 2504-2509
เน้นการขยายสถานบริการ สาธารณสุขได้แก่โรงพยาบาลและสถานีอนามัยให้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศมีการก่อสร้างโรงพยาบาลใหม่ๆแต่ยังไม่เน้นหนักในส่วนภูมิภาคเท่าที่ควร
ด้านอนามัยปราบปรามและควบคุมโรคติดต่อนั้นได้ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ยกเว้นในการแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์และพยาบาลในชนบทห่างไกล
ฉบับที่ 2 พ ศ 2510- 2514
เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบทเร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์และการสาธารณสุขการปรับปรุงบริการสาธารณสุขโดยขยายขอบเขตการบริการด้าน สาธารณสุขแก่ประชาชนในชนบทห่างไกล
มีการบังคับนักศึกษาแพทย์ให้ทำสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนเป็นครั้งแรกในพศ. 2508
ฉบับที่ 3 พ ศ 2515- 2519
น้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากยิ่งขึ้นกำหนดนโยบายประชากรเป็นครั้งแรกมุ่งเน้นการอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว การควบคุมโรคติดต่อ การปรับปรุงและขยายการบริการรักษา
มีนโยบายให้บริการรักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้มีรายได้น้อยเป็นครั้งแรกพศ 2518
ฉบับที่ 4 พ ศ 2520 2524
มุ่งเน้นที่การแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุขการให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสานแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง
เริ่มมีโรงพยาบาลประจำอำเภอแทนศูนย์การแพทย์และอนามัยและมีโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคขั้นพื้นฐานในครั้งแรกมีการอบรมผสส./อสม.
ฉบับที่5 พ ศ2525-2529
การจัดตั้งโรงพยาบาลระดับอำเภอให้ครบทุกอำเภอรวมทั้งยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์ให้เป็นสถานีอนามัยทั้งหมด
ฉบับที่6 พ ศ 2530-2534
ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ครบตามเป้าหมายการยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและรณรงค์ควบคุมโรคเอดส์เพื่อไม่ให้กระทบความมั่นคงของชาติ
เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ