Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย, นางสาวปิยธิดา จุ่นเจิม 36/1…
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
เด็ก
บุคคลซึ่งอายุเกิน 8 ปีบริบูรณ์แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์
บุคคลที่มีอายุแต่15 ปีลงมา
ผู้เยาว์ตามประมวลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ซึ่งอายุไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
บุคคลที่มีอายุไม่เกิน 15 ปีบริบูรณ์
คนที่มีอายุยังน้อย
ว.ยังเล็กและอ่อนวัย
เด็ก ความหมายด้านสุขภาพ
หมายถึงบุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
ช่วงวัยของเด็ก แบ่งตามระยะพัฒนาการ
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ เช่น การทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจ และทางเพศ
สิทธิในด้านพัฒนาการ
เด็กทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัยอนุสัญญาฯ กำหนดว่ารัฐภาคีจะต้องรับรองว่าเด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวมาตั้งแต่เกิด
สิทธิในการมีส่วนร่วม
เป็นสิทธิที่ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำของเด็ก ในการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู่
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด บุคคลต้องต่อสู้กับโรคตลอดชีวิตต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยๆ
ระยะวิกฤต (Crisis)
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการดูแลเน้นการรักษา ดูแลประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ในทันทีทันใดเฉียบพลันหมายถึง รุนแรงมาก
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying)
เป็นระยะที่ได้รับการวินิฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflexเพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายต่างๆ เกิดขึ้นในร่างกาย
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย ไม่มีความหมายอายุ > 6 เดือนผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ ทำให้เด็กบางคนกลัวการนอนกลัวว่าหลับแล้วอาจจะตายแล้วไม่ตื่นอีกเลย
เด็กวัยนี้บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
ด้วยข้อจำกัดของวัย คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible) เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
วัยเรียน
สามารถจินตนาการเรื่องความตาย และเข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
เรียนรู้มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า ตนเองอาจจะมีชีวิต เติบโต หรือตายจากไป
สนใจพิธีการในงานศพ
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง มองความตายที่มีต่อตนเองได้ชัดขึ้นเข้าใจความหมายของความตาย
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
เป็นวัยที่มีความเป็นส่วนตัว เป็นตัวของตัวเองมาก ต้องการจัดการสิ่งที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับตัวเองด้วยตัวเอง ไม่ต้องการการบังคับ
เป็นวัยที่ยังมองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความเจ็บป่วย และการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็ นภาวะวิกฤตของเด็กป่วยทำให้เกิดความเครียดส่งผลต้องทำให้มีการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญต่อความเจ็บป่วยครั้งก่อน
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลและช่วยเหลือเด็ก
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก
การเจ็บป่วยทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก เช่น กินได้น้อยลง ถูกจำกัดกิจกรรม
วัยเดิน
เป็นวัยที่อิสระ อยากรู้อยากเห็น และยังไม่เคยแยกจากบิดามารดา หรือผู้เลี้ยงดู การเจ็บป่วยเฉียบพลันทำให้ต้องพลัดพรากจากบิดา มารดา
วัยก่อนเรียน
เด็กวัยนี้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างมุ่งหวังที่จะประสบผลสำเร็จในงานบางอย่างเด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความยากลำบากในการเรียนรู้
วัยเรียน
เด็กวัยนี้จะเป็นวัยที่มุ่งมั่นต่อผลสำเร็จ มีการสังคมนอกบ้านในกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียนเด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรังทำให้หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน
วัยรุ่น
มีการค้นหาเอกลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเอง มีความเป็นอิสระเด็กที่เจ็บป่วยบ่อย จะมีผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเองภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสียความสามารถในการควบคุม
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Pain management
Critical care concept
Separation anxiety
Stress and coping
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ร้องตลอดเวลาจะหยุดร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้นเด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วยการร้องไห้ประท้วงรุนแรงมากขึ้นเมื่อมารดาจะจากไป
ระยะสิ้นหวัง(despair)
ความสิ้นหวังแสดงออกโดย อาการโศกเศร้าเสียใจอย่างลึกซึ้ง แยกตัวอยู่เงียบ ๆ ร้องไห้น้อยลง เสียงครางโยเย
ระยะปฏิเสธ(denial)
ถ้าเด็กป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลเป็นเวลานานวันและได้รับการพยาบาลจากพยาบาล ระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกเศร้า
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures
Preparing Infants
Let nursing staff know about baby’s schedule
Parents remain calm
Bring favorite security item
Be patient with infant
Hard to comfort, console, clingy
Keep routines
Distract, rock, comfort
Stressors
Seeing strange sights, sounds, smells
New, different routines
Having many different caregivers
Interrupted sleep
Separation from parents
Day and night confusion
Preparing Toddlers/Preschoolers
Interactive play with dolls
Simple explanations
Read books about going to hospital
Tell the truth: “It will hurt (like...), but it won’t last long”
Establish “procedure free zones”
Stay with child during hospitalization
Preparing School Age
Stressors
Thinking he/she is in hospital because he/she is being punished
Loss of control
Being away from school/friends
Pain
Needles/shots
Dying during surgery
Take tour
Make sure child knows why is having surgery in words they understand
Have child explain back their understanding
Read books
Give as many choices as possible
Encourage child’s friends to visit
Have someone stay with child as much as possible
Let child know it’s acceptable to cry and be afraid
Preparing Teenager
Stressors
Being away from school/friends
Having a part of his/her body damaged or changed in appearance
Loss of control
Fear of surgery and risks
Pain
Dying during surgery
Fear of the unknown
Fear of what others will think about them being sick in hospital
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่ส าคัญของการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
การตระหนักและการเคารพ (Respect) เคารพและยอมรับในความแตกตางทางวัฒนธรรม ความเป็นบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ ความมี
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
ให้ความสำคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่าสำคัญ
สนับสนุนครอบครัวให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยใน โรงพยาบาล
ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
ร่วมกับครอบครัวในการค้นหาทางเลือกต่างๆ ในการดูแลต่างๆ
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และให้ความไว้วางใจ
สื่อสารทำความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
มีการสื่อสารในทางที่ดี เปิดเผย และต่อเนื่อง
วางแผนการดูแลรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่องและไม่ลำ้อียงด้วยท่าทีที่เหมาะสมในลักษณะของการสนับสนุน
อธิบายคำศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวให้เข้าใจ
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการพยาบาล
ตอบข้อสงสัยของบิดามารดา
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและ
ครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
ยอมรัว่าครอบครัวมีจุดแข็งและมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเครพวิธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกัน
ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัว
เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอำนาจ ของ ครอบครัว โดยเริ่มจากจุดแข็งที่ครอบครัวมีอยู่
เครพยอมรับในความในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื้อ และสังเศรษฐกิจของครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
ให้คุณค่าความสำคัญของความช่วยเหลือระหว่างครอบครัว
สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่ายระห่างกลุ่มแพทย์และเครือข่ายผู้ปกครอง
ส่งต่อครอบครัวไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้ต่อความตอบสนองความต้องการของครอบครัว
จัดหาวิธีการและทางเลือกของการรักษาให้กับบิดามารดา
กระตุ้นให้มีการดูแลแบบสหสาขาเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการดูแลเด็กกับวิชาชีพอืื่น
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด :เจ็บตลอดเวลา เป็นๆหายๆ
ลักษณะการเจ็บปวด: เจ็บ ปวด แสบ ปวดแสบ ปวดร้อน
ตำแหน่งที่ปวด
ผลกระทบต่อความปวด :หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
ความรุนแรงของความปวด
ปัจจัยที่ท าให้ปวดมากขึ้น ลดลง
CRIES Pain Scale
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability
Faces scale
Numeric rating scales
CHEOPS (Children’s Hospital of EasternOntario Pain Scale )
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
การแปลผล
5-7 = ปวดน้อย
4 = ไม่ปวด
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ;Consolability Scale)
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
การแปลผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
facial scales คือ การใช้รูปภาพแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกปวด
เริ่มตั้งแต่ไม่แทนสีหน้ายิ้มร่าเริงมีความสุข ปวดพอทนได้แทนด้วยภาพหน้าทิ่วคิ้วขมวดจจนถึง ปวดมากที่สุดแทนด้วยภาพที่มีน้ำตาไหลพราก
นิยมมใช้ในผู้ป่วยเด็กเล็ก คนชราหรือคนที่ไม่สามารถสื่อสารได้ด้วยคำพูด พยาบาลจะให้ผู้ป่วยดูภาพดังกล่าวอธิบาย และให้ผู้ป่วยชี้ภาพหน้าที่ตรงกับความรู้สึก
Numeric rating scales
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป ซักถามถ้าไม่ปวดเลย ให้ 0 ปวดมากที่สุดให้ 10 ขณะนี้ปวดเท่าใด
การแปลผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
หลักการประเมินความปวด
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และควรใช้วิธีเดียวกันตลอดการให้การพยาบาลนั้นๆ
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจาก
การประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด
ควรประเมินอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่อง โดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทำกิจกรรม
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน และหลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง หรือคำถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้าเสียใจ
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจและบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด
นางสาวปิยธิดา จุ่นเจิม 36/1 เลขที่69 รหัสนักศึกษา612001070