Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Neonatal Jaundice - Coggle Diagram
Neonatal Jaundice
📌อาการ
อาการตัวเหลือง
มักเห็นที่บริเวณใบหน้าก่อน ถ้ากดลูบบริเวณดั้งจมูกจะเห็นได้ชัดยิ่งขึ้น อาการตัวเหลืองจะเห็นชัดขึ้นลามมาที่ลำตัวและแขนตามลำดับ(cephalocaudal progression) Kramer ศึกษาในทารกเกิดครบกำหนด พบว่า ถ้าอาการเหลืองเห็นได้ที่ใบหน้าที่หน้าอกเหนือสะดือ ระดับบิลิรูบินสูงประมาณ 12 มก./ดล. หรือต่ำกว่า ถ้ามือและเท้าเหลืองระดับบิลิรูบินมักจะสูงเกิน 15 มก./ดล.
ซีดหรือบวม
พบได้ในเด็กที่มีการทำลายของเซลล์เม็ดเลือดแดงอย่างมากเป็นอาการที่พบได้เฉพาะราย hydroph fetallis จาก Rh incompatibility หรือซิฟิลิสแต่กำเนิด
ตับหรือม้ามโต
พบได้ใน hemolytic disease of the newborn หรือโรคติดเชื้อในครรภ์ เกิดขึ้นเนื่องจากการสร้างเม็ดเลือดแดงมาก เพื่อชดเชยส่วนที่ถูกทำลาย ไปใน ABO incompatibility จะมีการแตกสลายของเม็ดเลือดแดงที่มักไม่รุนแรง ตับและม้ามไม่ค่อยโต พวก galactosemia จะมีตับโตมากแต่คลำม้ามไม่ได้
-
-
📌การรักษา
การรักษาโดยการส่องไฟ (Phototherapy)
พลังงานจากแสงสว่างโดยเฉพาะแสงสีฟ้าเขียว (blue-green light ที่มีความถี่ในช่วง 450 480 นาโนเมตรจะช่วยลดระดับของซีรั่มบิลิรูบินชนิดที่ละลายในไขมันลงได้โดยทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโมเลกุลของบิลิรูบินชนิดไม่ละลายน้ำให้กลับกลายมาเป็นสารที่ละลายน้ำได้
-
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (Exchange Transfusion)
เป็นวิธีการรักษาที่จะช่วยลดระดับบิลิรูบินลงได้ดีที่สุดมีประสิทธิภาพสูงสุดมีข้อบ่งชี้สำคัญคือในกรณีที่เกิดจากเลือดแม่กับเลือดลูกไม่เข้ากันหรือเม็ดเลือดแดงแตกง่ายโดยทั่วไปควรเปลี่ยนเลือดเมื่อระดับ Microbilirubin (MB) สูงกว่า 20 มก. / ดล.
-
📌ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อสมองได้รับอันตรายจากภาวะบิลิรูบินในเลือดสูง S: ตัวเหลือง
O: ค่า Microbilirubin 20mg% Hematocrit60%
-
📍เกณฑ์การประเมิน : อาการตัวตาเหลืองลดลง , ระดับบิลิรูบินในเลือดลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติค่า Microbilirubin สูงไม่เกิน 12 mg% ,ม่มีอาการแสดงของภาวะ Kenicterus ได้แก่ ซึมไม่ดูดนมร้องเสียงแหลมชัก
📍กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับการส่องไฟรักษาโดย
1.1 ถอดเสื้อผ้าออกและพลิกตัวให้อยู่ในท่าหงายหรือท่านอนคว่ำทุก 3-4 ชั่วโมงเพื่อให้ทารกได้รับแสงทั่วทั้งตัว
-
-
1.4 ตรวจสอบประสิทธิภาพของหลอดไฟให้ทารกนอนตรงกลางของแผงไฟในระยะห่าง 30 -45 เซนติเมตรกั้นผ้าไว้รอบแสงไฟ
-
1.6 เจาะเลือดหาระดับบิลิรูบินในเลือด 4 ชั่วโมงหลังส่องไฟและทุก 24 ชั่วโมงจนกว่าระดับบิลิรูบินในเลือดปกติ
-
-
-
- ดูแลให้ได้รับนมมารดาตามต้องการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการขจัดบิลิรูบินออกจากร่างกาย
- สังเกตอาการตัวเหลืองโดยใช้นิ้วกดบริเวณผิวหนังบริเวณจมูกหน้าผากหน้าอกและหน้าแข้ง
4.สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บงชี้ถึงภาวะที่มีการทำลายของเนื้อสมอง ได้แก่ ดูดนมไม่ดีซึมลงร้องเสียงแหลมหลังแอ่นตัวเขียวชักหรือกระตุก.
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการส่องไฟรักษา
S:มารดาบอกว่าทารกปัสสาวะสีเหลืองเข้ม
O: On Dabble Phototherapy , ทารกมีผิวแห้ง
-
📍เกณฑ์การประเมินผล : ทารกได้รับการส่องไฟที่ถูกวิธี , ทารกไม่มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนัง , ไม่มีอุจจาระเหลวสีเขียว ,ทารกไม่มีผิวแห้ง
📍กิจกรรมการพยาบาล
- ป้องกันอันตรายจากการได้รับแสงมากเกินไปและป้องกันอุบัติเหตุจากการแตกของแสงหลอดไฟโดยให้ทารกนอนส่องไฟในตู้อบหรือ crib ที่มีแผงกระจกกันหลอดไฟไว้
-
-
2.3 ทำความสะอาดตาด้วยสำลีชุบ 0.9% NSS อย่างน้อยวันละ 2 ครั้งเพื่อทำความสะอาดศาต้องตรวจดูแรงกดที่เปลือกตาหรืออาการของการติดเชื้อเช่นตาแดงมีขี้ตามากกว่าปกติ
-
- ป้องกันไม่ให้ร่างกายมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไป
-
-
-
-
3.5 สังเกตอาการแสดงภาวะอุณหภูมิกายสูงเช่นผิวหน้าแดงและร้อนอัตราการหายใจและการเต้นของหัวใจเร็วกว่าปกติ
- ป้องกันภาวะขาดน้ำเนื่องจากทารกได้รับการส่องไฟรักษาจะมีการเพิ่มของ Isensible Water loss และอาจเสียน้ำจากการถ่ายเหลวจึงควรดูแลทารกดังนี้
-
-
-
-
-
📌พยาธิสภาพ
เป็นภาวะที่มีบิลิรูบินในเลือดสูงมากผิดปกติสังเกตเห็นอาการเหลืองได้ภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิดตรวจพบระดับบิลิรูบินในเลือตจากสายสะดือมาเกิน 3 มก. / ดล. หรือบิลิรูบินในเลือตหลังเกิตภายใน 24 ชั่วโมงสูงเกินรมก. / ดล. เกิดได้จากหลายสาเหตุดังนี้
-
- มีการขับบิลิรูบิออกได้น้อยหรือ
ไม่ได้ทำให้การดูดซึมบิลิรูบินจากลำไส้กลับเพิ่มขึ้นจาก
-
-
-
- มีความล่าช้าในการเปลี่ยนบิลิรูบิน
-
3.2 ทารกคลอดก่อนกำหนดทำให้ระดับเอนไซม์ที่จะเปลี่ยนบิลิรูบินในเลือดต่ำกว่าทารกคลอดครบกำหนดเกิดความล่าช้าในการเปลี่ยนบิลิรูบินและยังมีการขับบิลิรูบินออกทางน้ำดีได้ไม่ดีเท่าทารกคลอดครบกำหนดจึงมีแนวโน้มที่จะมีบิลิรูบินในเลือดสูงมากขึ้นมากกว่าทารกคลอดครบกำหนดถึงร้อยละ 30- 50
3.3 ได้รับยาบางชนิดที่มีผลยับยั้ง glucuronyl transferase ทำให้ขัดขวางการเปลี่ยนบิลิรูบิน LCB เป็น CB ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ทารกมีบิลิรูบินในเลือดสูงที่พบบ่อยคือภาวะที่มีการไม่เข้ากันของหมู่เลือดภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO