Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบประสาทและระบบกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
ความผิดปกติของระบบประสาทและระบบกล้ามเนื้อ
ระดับความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี (full consciousness)ผู้ป่วย
จะตื่นและรู้สึกตัวดี
ความรู้สึกสับสน (confusion) ผู้ป่วยจะรู้สึก
สับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อสิ่งต่างๆ ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy)มีอาการง่วงงุน พูดช้าและสับสน เคลื่อนไหวได้น้อยลง
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังคงมีการตอบสนองต่อที่กระตุ้นที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ำ
ระดับหมดสติ (coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวและไม่ตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ ในช่วงหมดสติระดับลึก (deep coma) จะพบว่า reflexes ต่างๆ ของเด็กจะหายไป
ภาวะไม่รู้สึกร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ คือชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ ได้แก่ ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ
กรณีที่ 2 มีไข้ ได่แก่ ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 °c ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบ
ประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
อายุ
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
มีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Complex febrile seizure
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
เด็กที่ชักชนิด complex มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก แพทย์จะให้ยาป้องกันการชัก
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้นๆไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประเมินสภาพร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ คือ จากความผิดปกติของ Neurotransmission
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิสภาพภายในสมอง
ทราบสาเหตุ เช่น โรคทางพันธุกรรม สารพิษและยา เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
Preictal period
อาการนำ อาการบางอย่างที่นำมาก่อน
มีอาการชัก ไม่มีอาการจำเพาะ
อาการเตือน ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตาม
ตำแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน เป็นต้น
Ictal event หรือ Peri-ictal period
ระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Postictal peroid
ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง ส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง มีอาการได้แก่ สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลา
หลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว คือ Haemophilus influenzae, Neisseria meningitidis, Streptococcus peumoniae
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติมีอาการคอแข็ง
ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน
ในรายที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส จะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออกกระจายทั่วๆ ไป รวมทั้งมีเลือดออกที่ต่อมหมวกไตด้วย
ชนิดของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
เฉียบพลันจากไวรัส
วัณโรค
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
วิธีการติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คนโดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้้ามูก น้้าลาย (droplet)จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญ 2 อย่าง
Meningococcemia
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
ยาปฏิชีวนะ
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร
น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง :
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง post meningitis
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
อาการแสดงทางคลินิก
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ,ปัญญาอ่อน
การรักษา
การรักษาด้วยยา คือ ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การอุดตันสายระบายน้ าในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
สายระบายน้ำในโพรงจมูก
สายระบายจากโพรงสมอง
วาล์วและส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง
สายระบายลงช่องท้อง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน
แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน
ไม่มีประวัติการคลอดในรพ.
Spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง ออกมาตามต าแหน่งที่บกพร่องนั้น
แบ่งเป็น 2 ชนิด
1.Spina bifida occulta
2.Spina bifida cystica
Meningocele ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง
น้ำไขสันหลังไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ตำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา อันตรายและเกิดความพิการ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย : แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
การตรวจพิเศษ
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
ภาวะไม่รู้สึกร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการส าคัญคือ ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ
ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน
สมองพิการ
ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic diplegia มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Splastic quadriplegia มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขา ทั้ง 2 ข้าง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัว
น้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะการทรงตัว การเคลื่อนไหว
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย