Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
การเจรจาต่อรอง ( Negotiation) หมายถึง กระบวนการที่บุคคลระหว่าง ๒ คน หรือมากกว่าขึ้นไป มีการติดต่อสื่อสารกลับไปกลับมาเพื่อหารือความต้องการ หรือผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันหรือบรรลุความต้องการและเป็นที่พอใจของทั้ง ๒ ฝ่าย
จุดประสงค์ของการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น หรือข้อเสนอที่แตกต่างกันเพื่อให้ผู้เจรจาได้สิ่งที่ต้องการ ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษา
ความสัมพันธ์ที่ดีกับอีกฝุายหนึ่งได้ด้วย
องค์ประกอบของการเจรจาต่อรอง
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีความคิดเห็น หรือความต้องการที่แตกต่างกัน
กระบวนการ การเจราจาต่อรองเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน เริ่มตั้งแต่วิเคราะห์ วางแผน และช่วงเจรจา
ความพยายามที่จะแก้ปัญหา เรื่องที่จะเจรจา คือจุดประสงค์ของการที่ทั้งสองฝุายต้องประชุมตกลงกัน
ความแตกต่าง แต่ละฝุายต้องตระหนักว่าทั้งคู่มีความแตกต่างกัน หรือมีสิ่งที่แตกต่างกันจะเสนอ ดังนั้นต้องทำความเข้าใจในแต่ละฝ่ายก่อน
กระบวนการเจรจาต่อรอง (The negotiation process)
ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
ขั้นกำหนดกฏกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
ขั้นทำความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (clarification and justification)
ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา ( bargaining and problem solving)
ขั้นจบการเจรจาและน าไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม หมายความว่า ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น มีความไว้ใจกันมองคู่เจรจาเป็นมิตร
การต่อรองแบบแข็ง หมายความว่า ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่ค านึงถึงข้อเจรจาของฝุายตรงข้ามมองคู่เจรจาเป็นศัตร
หัวใจสำคัญในการเจรจาต่อรอง
เริ่มต้นด้วยการเปิดฉากเชิงบวก (Begin with a positive overture) การเริ่มต้นด้วยการมีไมตรีที่ดีต่อ
กัน ใช้การคิดหรือมุมมองทางบวกมักเกิดบรรยากาศที่ดี
บุคคล แยกออกจากปัญหา หลักการแรกจากเหตุผลที่ว่า คนมีชีวิตจิตใจ จึงมีอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอเมื่อมีการติดต่อสื่อสารกัน เมื่อเอาอารมณ์มาเกี่ยวข้องก็จะยึดเอาจุดยืนของตนเป็นหลัก ทำให้ไม่เกิดผลดีต่อการเจรจาต่อรอง ดังนั้นจึงควรแยกคนออกจากปัญหา
ความสนใจ เน้นเรื่องผลประโยชน์มากกว่าใครแพ้ ใครชนะ
ทางเลือก พยายามหาทางออกหรือทางเลือกอื่น ๆ ก่อนที่จะตัดสินใจสุดท้าย ควรหาทางเลือกที่มี
ประโยชน์ต่อทุกฝุายก่อนตัดสินใจ หรือยุติการเจรจา ทางเลือกควรเป็นชนิด win – win solution
เกณฑ์ ต้องตกลงกันตามกฏเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
การตัดสินใจ (Decision making)
การตัดสินใจ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล บนพื้นฐาน
ของกฎเกณฑ์
ความสำคัญของการตัดสินใจ
ช่วยให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่มีคุณภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ
ช่วยลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
ช่วยให้บุคคลสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเองที่การตัดสินใจนั้นๆก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อ
ผู้อื่นได้
ช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจและมีการพัฒนาศักยภาพของตนให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต
ช่วยให้เกิดการประหยัดเวลา แรงงาน ทรัพยากรในการปฏิบัติ
ขอบเขตในการตัดสินใจ
การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตตามระเบียบข้อบังคับ และกฎหมาย
การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตทางสังคม เป็นการอาศัยหลักทางคุณธรรม จริยธรรม ระบบค่านิยมและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถืออ
กระบวนการตัดสินใจ
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
หาวิธีการแก้ปัญหาวิเคราะห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดีผลเสียของแต่ละวิธี
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลการตัดสินใจ
การบริหารเวลา
ระบบการบริหารเวลา (Time Management System)
การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
A-B-C (A-B-C
Strategy)
A = มีความสำคัญมากต้องทำก่อน
B = มีความหมายสำคัญเช่นกัน ถ้ามีเวลาก็ควรทำ
C = ถ้าไม่ทำขณะนี้คงไม่เป็นไร เมื่อทำอย่างอื่นเสร็จแล้วจึงค่อยทำงาน
การวางแผน (Planning)
ลำดับงานที่จะทำ (The Sequence)
ยึดหลัก 4W (The Who What Where and When)
ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ (Resources Needed)
การติดตามผล (Follow – Up Required)
แผนสำรอง (Contingency Plans)
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
กลยุทธการบริหารเวลา
ผู้บริหารที่ไม่มีเวลา
เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาการทำงานส่วนใหญ่เกี่ยวกับการประชุม การโต้ตอบจดหมายการ
พูดคุยกับลูกน้องหรือเพื่อนร่วมงาน การอภิปรายปัญหาในการทำงาน
ผู้บริหารที่มีเวลา
เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการวางแผนการประชุม เพื่อให้การประชุมเกิด
ประสิทธิภาพมากที่สุด รองลงมาคือการใช้โทรศัพท์ติดต่องาน การวางแผนมอบหมายงานให้ผู้อื่นปฏิบัต
เทคนิคการบริหารการใช้เวลาที่มีประสิทธิภาพ
จดบันทึกการใช้เวลาประจำวันไว้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์หาสาเหตุของการสูญเสียเวลา
วิเคราะห์สาเหตุของการรบกวนเวลาหรือการสูญเสียเวลาไปโดยไม่จำเป็นจากข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ในแต่ละวัน
เพื่อหาข้อบกพร่องและสาเหตุที่ทำให้เกิดการสูญเสียเวลาโดยไม่จำเป็น
ปรับปรุงข้อบกพร่องหรือสาเหตุที่ทำให้เสียเวลาตามที่วิเคราะห์ได้
การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง (Conflict) คือ สภาพการณ์ที่คนหรือกลุ่มคนเกิดความไม่เข้าใจกัน มีความรู้สึกไม่พึงพอใจ หรือคับข้องใจที่จะปฏิบัติงาน ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากสภาพทรัพยากรทางการบริหารหรือตำแหน่งที่มีจำกัดและไม่สามารถตอบสนองความต้องการของคน หรือกลุ่มคนได้อย่างทั่วถึงเท่าเทียมกัน
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับสายงานบังคับบัญชา นับตั้งแต่
ผู้บริหารระดับสูงขององค์การจนถึงผู้ปฏิบัติงาน ความขัดแย้งประเภทนี้มักมีความสัมพันธ์กับการสื่อสาร
ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในระดับเดียวกันซึ่งต่างฝ่ายต่างก็มีอำนาจตามตำแหน่ง (Authority) ของตนเอง ความขัดแย้งประเภทนี้มักมีความสัมพันธ์กับการสื่อสารการประสานงาน และความร่วมมือ
ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานใน
ระดับใดระดับหนึ่งกับ ต่างระดับต่างสายงานบังคับบัญชา
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์
บทบาทไม่ชัดเจน
เป้าหมายการทำงาน
อำนาจ
การเปลี่ยนแปลง
การบริหารความขัดแย้ง
การชนะ–แพ้ (Domination) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีการที่ฝุายหนึ่งเป็นผู้ชนะอีกฝุายหนึ่งเป็นการใช้อำนาจในการแก้ปัญหา
การประนีประนอม (Compromise) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยที่ต่างฝุายต่างได้เพียงบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น
การประสานประโยชน์ (Integrated Solution) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่เน้นความพอใจของทั้งสองฝุายมากที่สุด เป็นการแก้ปัญหาที่ไม่มีการแพ้–ชนะ
ผลกระทบของความขัดแย้ง
ผลดี
ทำให้องค์กรไม่อยู่นิ่งหรือเฉื่อยชา
. ทำให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ส่งเสริมการพัฒนาการทำงานอย่างมีระบบ
ช่วยให้บุคลากรมีความรอบคอบ
ส่งเสริมให้บุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงตนเอง และมีวุฒิภาวะมากขึ้น
ผลเสีย
ทำให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล
ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงาน
ขาดการยอมรับ ความไว้วางใจหรือความเคารพซึ่งกันและกัน
ขาดความร่วมมือและความสามัคคีในหมู่คณะ
ทำให้บุคคลหรือกลุ่มทำงาน ขาดประสิทธิภาพในการทำงาน เพราะบรรยากาศตึงเครียด
ประเภทความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
ความขัดแย้งระหว่างองค์กรสุขภาพ
ความขัดแย้งภายในองค์กรสุขภาพอาจเป็นความขัดแย้งระหว่างบุคคลหรือระหว่างกลุ่ม
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
การเสริมสร้างพลังอำนาจเป็นการแบ่งปันอำนาจระหว่างผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกคนมีความสามารถที่จะไปถึงเปูาหมายของงานหรือขององค์กรและเสริมสร้างให้กับผู้อื่นเพื่อให้เขามีความสามารถที่จะไปถึงจุดหมายเช่นกัน
ความสำคัญของการเสริมสร้างพลังอำนาจ
ความสำคัญต่อบุคคลในองค์กร
การเสริมสร้างพลังอำนาจบุคคลระดับผู้ปฏิบัติงาน
การเสริมสร้างพลังอำนาจบุคคลระดับผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญต่อทีมงาน
ความสำคัญต่อระดับองค์กร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
ระบบโครงสร้างองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
บุคลากร
ความไว้วางใจในองค์กร
. ลักษณะงาน
สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง