Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหายใจ
การบกพร่องในการซึมผ่าน
1.การระบายอากาศไม่เพียงพอ
ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือด
4.เลือดไหลทางลัด
การประเมินสภาพระบบหายใจ
การตรวจร่างกาย
1.การซักประวัติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การตรวจพิเศษ
Respiratory Acidosis
Hypoventilation
เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลง หมดสติ
การรักษา
1.ขจัดสาเหตุ
2.ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
3.ให้การรักษาตามโรค
ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
Respiratory Alkalosis
Hyperventilation
ซึม สับสน หายใจเร็วลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
การรักษา
1.ปรับลด Tidal volume , RR
2.ให้ยาแก้ปวดHyperventilation syndrome
3.ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
4.ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis
อาการ
ปวดศีรษะ สับสน อาเจียนท้องเดิน หายใจหอบลึก เป็นตะคริวที่ท้อง ชาปลายมือ ปลายเท้า
การรักษา
1.ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต 2.Hemodialysis
Metabolic Alkalosis
อาการ
สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ) คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Respiratory Failure
ภาวะหายใจล้มเหลว
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้
ความดันออกซิเจน
ในเลือดแดง PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg
ความดันคาร์บอน
ไดออกไซด์
ในเลือดแดง PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
แบ่งตามชนิด
ชนิดที่ 1 Oxygenation failure
ชนิดที่ 2 Ventilatory failure
แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดปัญหา
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
โรคหืด (Asthma)
อาการ
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้น
1.สารก่อภูมิแพ้
2.สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
4.การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
5.อื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
การดูแล
1.สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
2.ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค
ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
3.สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
4.หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากยารักษา
โรคให้น้อยที่สุด
5.ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดจาก
pulmonary emphysema
chronic bronchitis
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ และการหายใจเร็ว ไอมีเสมหะเรื้อรัง เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
2.ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
3.การวัดสมรรถภาพการทำงานของ
ปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
4.การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
อาการ
1.มีเสมหะในหลอดลม
2.ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
3.การขยายของทรวงอก
4.มีการทำลายเนื้อปอด
การรักษา
ระดับที่ 1 mild
1.แนะนำและช่วยให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่
2.ยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์สั้น
3.ให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่
ระดับที่ 2 Moderate
1.เหมือนระดับที่ 1ร่วมกับให้ยาขยายหลอดลมตามเวลา
2.เริ่มการฟื้นฟู
ระดับที่ 3 Severe
1.เหมือนระดับที่ 2และเปลี่ยนเป็นยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว ตามเวลา
2.ให้ออกซิเจน ให้ยา ICS
ระดับที่ 4 Very Severe
1.เหมือนระดับที่ 3
2.พิจารณาวางแผนชีวิตระยะ
โรคหลอดลมอักเสบ
สาเหตุ
สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง การติดเชื้อ
โรคถุงลมโป่งพอง
สาเหตุ
สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละอองการติดเชื้อ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
โรคปอดอักเสบ
เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เนื้อปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
สาเหตุ
1.ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
3.เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
การรักษา
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโทรไลต์
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,
Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ
ให้อาหารโปรตีนสูง
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ดูแลความสะอาดของปากและฟัน
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุม
การแพร่กระจายของเชื้อ
พยาธิสภาพ
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
Pulmonary embolism
สาเหตุ
1.Venous stasis
Vessel injury
Hypercoagulability
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance
Vasoconstrict
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Atelectasis alveolar dead space
Lung cancer
Adrenocarcinoma
Squamous cell carcinoma
Large cell carcinoma
Small cell carcinoma
Adult Respiratory
Distress Syndrome
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
สาเหตุ
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ การสูดสำลัก
การให้สารน้ำและเลือดทดแทน
การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
พิษจากการให้O2เข้มข้นเป็นเวลานาน
ติดเชื้อที่ปอดรุนแรง ภาวะช็อค
Hemothorax
อาการ
แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
สาเหตุ
Penetrating chest injury
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Decelerating injury
Pneumothorax
Simple pneumothorax
เกิดจากแรงกระแทกทำให้เยื่อหุ้มปอดฉีกขาด หรืออาจเกิดจากการทำหัตถการที่ใกล้ทรวงอก การแทงสายยางเพื่อเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
Spontaneous pneumothorax
สภาวะที่มีลมอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอด
ซึ่งเกิดจากการแตกของถุงลมในปอด
Tension pneumothorax
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอดและลมไม่หยุดรั่วและไม่กลับออกไป จึงทำให้มีลมค้างในช่องอกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
การรักษา
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด
จากการช่วยหายใจและจากการที่มีลมรั่วจาก
ปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
Pleural effusion
สาเหตุ
โรคปอด มะเร็งปอด โรคหัวใจ โรคไต โรคตับแข็ง โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
พยาธิสภาพ
ร่างกายมีการสร้างของเหลวในชั้นของเยื่อหุ้มปอดมากจนเกินไป จนเบียดพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอด มีอยู่ 2 ประเภท 1.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส 2.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น
การรักษา
1.เจาะของเหลวออก
2.รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
การระบายทรวงอก
หมายถึง
การระบายลมหรือสิ่งที่เป็นของเหลว เช่น เลือด หนอง ออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดทางท่อระบายทรวงอก
ระบบท่อระบายทรวงอก
ระบบขวดเดียว
เหมาะสำหรับระบายลมเลือด สารเหลว
อื่นๆ ที่ปริมาณออกไม่มาก
ระบบสองขวด
เหมาะ ที่จะใช้กับผู้ป่วยที่มีสารเหลวระบายออกมากหรือมีลมออกมาก
ระบบสามขวด
ใช้ในกรณีที่มีเครื่อsuction ที่ไม่สามารถควบคุมความดันได้