Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE) - Coggle…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE)
ปัจจัยส่งเสริม
การเร่งคลอด โดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน ทำให้มีการเปื่อยยุ่ย ขาดง่าย อาจเกิดการฉีกขาดของ หลอดเลือด ทำให้น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
พยาธิสรีรวิทยา
น้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมฝอยที่ปอด
หลอดเลือดฝอยที่ปอดหดเกร็ง
เลือดจากปอดกลับเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้ายลดลง
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
Hypotension
แรงดันภายในปอดเพิ่มขึ้น
Pulmonary edema
การกำซาบเลือดลดลง
Anoxemia
น้ำคร่าเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด
เกิดเป็นลิ่มเลือดเล็กๆ
ทำให้เกิดภาวะ DIC
มดลูกหดรัดตัวน้อย
ตกเลือด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก (dyspnea)เกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีทันใด เขียวตามใบหน้า และลำตัว (cyanosis)
มีอาการหนาวสั่น
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด (pulmonary edema)
ถ้าเกิดนานกว่า 1 ชั่วโมง ผู้คลอดยังมีชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกการเข็งตัวของเลือดเสียไป และเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรง หากไม่ได้รับการแก้ไขภาวะการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีพอ
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
ความดันโลหิตต่ำมาก
ชัก หมดสติ และเสียชีวิตในเวลาต่อมา
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง (cardiovascular collapse)
เลือดออก
อาการเขียว
หมดสติ
ระบบหายใจล้มเหลว
.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน (lanugo hair)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก ส่วนใหญ่จะไม่พบความผิดปกติแต่อาจพบลักษณะ pulmonary edema
การตรวจคลื่นไฟฟูาหัวใจ (ECG) จะพบลักษณะ tachycardia STและ T wave เปลี่ยนแปลง และ มี RV strainได้
perfusion defect
ตรวจหา antigen จะพบมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
ผลกระทบ
มารดา
เสียชีวิตจากการเสียเลือด ถ้ามีผู้รอดชีวิตมักมีอาการทางระบบประสาท เนื่องจากมีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
ทารก
ทารกที่รอดชีวิตจะมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การป้องกัน
ระมัดระวังในการให้ Oxytocin
การเจาะถุงน้ำควรทำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ (stripping membranes) จากคอมดลูก เพราะจะทำให้เลือดดำบริเวณปากมดลูกด้านในฉีกขาดได้
รายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
ไม่ควรเจาะถุงน้ำก่อนปากมดลูกเปิดหมดเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำคร่ำพลัดเข้าสู่กระแสเลือด
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยจัดให้นอน Fowler ‘ s position ให้ออกซิเจน 100%
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด เพื่อแก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ โดยการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ เพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด พลาสมา และสารไฟบริโนเจน
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยา oxytocin หรือ methergin ทางหลอดเลือดดำ
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (DIC) โดยให้ยา Heparin
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
ทารกยังไม่คลอด ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก เละรีบให้การช่วยเหลือโดยการผ่าตัด คลอดทางหน้าท้องอย่างเร่งด่วน
ให้ยา
Morphine : ลดการคั่งของน้ำในปอด อาการหอบ เขียว
Digitalis : ช่วยให้หัวใจบีบตัวช้าลง แรงขึ้น เพิ่ม cardiac output
Hydrocortisone 1 gm IV drip : ลดการหดเกร็งของหลอดเลือด ดูดน่ำกลับเข้าสู่เนื้อเยื่อ
Isoprenaline 0.1 gm IV : ช่วนในการไหลเวียนเลือด
ถ้ามารดามีชีวิตรอด เฝ้าระวัง Pneumonia Renal failure Sheehan's Syndrome
การพยาบาล
จัดให้มารดานอนในท่า fowler
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี และกลไกการแข็งตัวสูญเสียไป
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพ ในรายที่เกิดหัวใจล้มเหลว (cardiac arrest)
ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว ถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต
ความหมาย
ภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension) อย่างทันทีทันใด
ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (consumptive coagulopathy)