Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเพื่อไล่มดดำ, การศึกษาวัสดุที่สามารถขึ้นรูปชอล์…
การสร้างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรเพื่อไล่มดดำ
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
วิธีการกำจัดมดในวิธีที่มีประสิทธิภาพและไม่มีผลอันตรายต่อสุขภาพเพื่อที่จะได้ใช้ได้ในทุกๆพื้นที่ในบ้านได้ เนื่องจากมดสามารถไปได้ในทุกๆที่ของบ้าน
ตัวแปร
ตัวแปร ชุดที่ 1
ตัวแปรตาม
ประสิทธิภาพในการไล่มด
ตัวแปรควบคุม
ปริมาณของสมุนไพร
ตัวแปรต้น
ชนิดของสมุนไพร (ตะไคร้ มะกรูด สะระแหน่)
ตัวแปร ชุดที่ 2
ตัวแปรตาม
ประสิทธิภาพในการขึ้นรูป
ตัวแปรควบคุม
ปริมาณของส่วนผสม
ตัวแปรต้น
วัสดุในการขึ้นรูปชอล์ก ปูนปลาสเตอร์ ดินสอพอง
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อศึกษาสมุนไพรที่สามารถไล่มดได้ดีที่สุด
๒. เพื่อศึกษาวัตถุที่ขึ้นรูปชอล์กได้ดีที่สุด
นิยามศัพท์เฉพาะ
ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร หมายถึง ชอล์กที่ทำจากสมุนไพร ที่มีสรรพคุณในการไล่มดดำ
สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการไล่มด เช่น ตะไคร้ มะกรูด สะระแหน่
ประสิทธิในการไล่มด หมายถึง จ านวนมดลดลงจากผลิตภัณฑ์ที่ใช้ไล่มด
มด คือ มดดำ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
มดดำ
ชอล์คไล่มด
สมุนไพรที่ไล่มดได้ดี
ตะไคร้
มะกรูด
สะระแหน่
วัสดุที่สามารถขึ้นรูปชอล์กได้ดี
ปูนปลาสเตอร์
ดินสอพอง
วิธีการดำเนินการ
การทำชอล์กจากปูนปลาสเตอร์ด้วยน้ำตะไคร้, มะกรูด และสะระแหน่
วัสดุและอุปกรณ์
๑. ปูนปลาสเตอร์ ๑๒๐ กรัม ชุดละ ๔๐ กรัม
๒. น ้าสะอาด ๒๔๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร ชุดละ ๘๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร
๓. บีกเกอร์ ขนาด ๑๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน ๓ ใบ และ ขนาด ๑๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน ๓ ใบ
๔. เครื่องชั่ง ๑ เครื่อง
๕. แท่งแก้ว ๓ แท่ง
๖. มีด ๑ เล่ม
๗. เขียง ๑ อัน
๘. ผ้าขาวบาง ๓ ผืน
๙. เครื่องปั่น ๑ เครื่อง
๑๐. กระชอน ๑ อัน
๑๑. ฟอยล์อะลูมิเนียม ทรงสี่เหลี่ยม ๓ อัน
๑๒. ตะไคร้ ๑๐๐ กรัม
๑๓. มะกรูด ๑๐๐ กรัม
๑๔. สะระแหน่ ๑๐๐ ก
วิธีการดำเนินการ
๑. เตรียมวัสดุและอุปกรณ์
๒. หั่นตะไคร้, มะกรูดเป็นชิ้น และเด็ดใบสะระแหน่ อย่างละ ๑๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร นำสมุนไพรแต่ละชนิดและเทน้ำ๘๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในเครื่องปั่นโดยแยกสมุนไพรในการปั่น จากนั้นปั่นสมุนไพรและน้ำ จนสมุนไพรแต่ละชนิดละเอียด
๓. คั้นน้ำตะไคร้, มะกรูด และสะระแหน่ ๔๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร บนผ้าขาวบาง ที่วางไว้บนกระชอนที่มีบีกเกอร์ขนาด ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร รองอยู่
๔. ชั่งปูนปลาสเตอร์๑๒๐ กรัมแบ่งออกเป็น ๓ ชุด ชุดละ ๔๐ กรัม
๕. นําปูนปลาสเตอร์ไปผสมกับน้ำสมุนไพรแต่ละชนิดในบีกเกอร์
และคนผสมให้เข้ากัน
๖. เทส่วนผสมลงในแม่พิมพ์สำหรับขึ้นรูปชอล์ก
๗. รอให้แห้งแล้วจึงแกะออก
การทำชอล์กจากดินสอพองด้วยน้ำตะไคร้, มะกรูด และสะระแหน่
วัสดุและอุปกรณ์
๑. ดินสอพอง ๑๒๐ กรัม ชุดละ ๔๐ กรัม
๒. น ้าสะอาด ๒๔๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร ชุดละ ๘๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร
๓. บีกเกอร์ ขนาด ๒๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน ๓ ใบ และ ขนาด ๑๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน ๓ ใบ
๔. เครื่องชั่ง ๑ เครื่อง
๕. แท่งแก้ว ๓ แท่ง
๖. มีด ๑ เล่ม
๗. เขียง ๑ อัน
๘. ผ้าขาวบาง ๓ ผืน
๙. เครื่องปั่น ๑ เครื่อง
๑๐. กระชอน ๑ อัน
๑๑. ฟอยล์อะลูมิเนียม ทรงสี่เหลี่ยม ๓ อัน
๑๒. ตะไคร้ ๑๐๐ กรัม
๑๓. มะกรูด ๑๐๐ กรัม
๑๔. สะระแหน่ ๑๐๐ กรัม
๑๕. โกร่งบด ๑ ชุด
วิธีการดำเนินการ
๑. เตรียมวัสดุและอุปกรณ์
๒. หั่นตะไคร้, มะกรูดเป็นชิ้น และเด็ดใบสะระแหน่ อย่างละ ๑๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร นำสมุนไพรอย่างละชนิด และเทน้ำ ๘๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในเครื่องปั่นโดยแยกสมุนไพรในการปั่น จากนั้นปั่นสมุนไพรและน้ำ จนสมุนไพรแต่ละชนิดละเอียด
๓. คั้นน้ำตะไคร้, มะกรูด และสะระแหน่ ๔๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร บนผ้าขาวบางที่วางไว้บนกระชอนที่มีบีกเกอร์ขนาด ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร รองอยู่
๔. ชั่งดินสอพอง ๑๒๐ กรัมแบ่งออกเป็น ๓ ชุด ชุดละ ๔๐ กรัม
๕. นําปูนปลาสเตอร์ไปผสมกับน้ำสมุนไพรแต่ละชนิดในบีกเกอร์
และคนผสมให้เข้ากัน
๖. เทส่วนผสมลงในแม่พิมพ์สำหรับขึ้นรูปชอล์ก
๗. รอให้แห้งแล้วจึงแกะออก
การวัดตัวแปร
การวัดประสิทธิภาพในการไล่มดดํา
การวัดระยะทางที่เหมาะสมในการขีดชอลก์ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการไล่มดดำ
การวัดประสิทธิภาพความแข็งแรงของชอล์คชนิดต่างๆ
การวัดประสิทธิภาพความแข็งแรงโดยการตกจากที่สูง
ผลการดำเนินงาน
ผลจากการทดลองของตัวแปรที่ ๑
ชอล์กจากมะกรูดสามารถป้องกันมดไม่ให้เข้าไปในบริเวณที่ขีดชอล์กได้
ผลจากการทดลองของตัวแปรที่ ๒
ความสูง ๑๐ ซม. ชอล์คคงรูป ความสูง ๓๐ ซม. ชอล์คมีรอยแตก
สรุปผล อภิปรายผล
สรุปผล
ไล่มดได้ดีที่สุด คือ มะกรูด
ปูนปลาสเตอร์สามารถขึ้นรูปได้ดีกว่าดินสอพอง
อภิปรายผล
ชอล์กที่ทําจากมะกรูดสามารถป้องกันมดไม่ให้เข้าไปในบริเวณที่ขีดชอล์กได้
ความสูง ๑๐ ซม. คงรูปเดิม
ความสูง ๓๐ ซม. มีรอยแตกร้าว
ความสูง ๕๐ ซม. แตกหัก มีผงเล็กน้อย
การศึกษาวัสดุที่สามารถขึ้นรูปชอล์กได้ดีที่สุด
การศึกษาสมุนไพรที่สามารถไล่มดได้ดีที่สุด