Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล, นางสาวทอฝัน จันทร์ที เลขที่ 30…
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
กระบวนการที่บุคคลระหว่าง ๒ คน หรือมากกว่าขึ้นไป มีการติดต่อสื่อสารกลับไปกลับมาเพื่อหารือความต้องการ หรือผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันหรือบรรลุความต้องการและเป็นที่พอใจของทั้ง ๒ ฝ่าย
จุดประสงค์ :เพื่อขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับอีกฝ่ายหนึ่งได้ด้วย
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม
ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น มีความไว้ใจกัน
ข้อดี คือ สามารถส่งเสริมและรักษาสัมพันธ์ภาพของทั้ง 2 ฝ่ายไว้ได้
ข้อเสีย การต่อรองอาจทำให้เสียเปรียบและถูกครอบงำโดยคู่เจรจา
การต่อรองแบบแข็ง
ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่คำนึงถึงข้อเจรจาของฝ่ายตรงข้าม
ข้อดี คือ ข้อตกลงอาจยุติโดยที่ตนเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
ข้อเสีย คือ ทำให้เสียสัมพันธ์ภาพ อาจเกิดการทะเลาะ ปะทะกัน
กระบวนการเจรจาต่อรอง (The negotiation process)
๑. ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
๒. ขั้นก าหนดกฏกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
๓. ขั้นท าความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (clarification and justification)
๔. ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา ( bargaining and problem solving)
๕. ขั้นจบการเจรจาและน าไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)
หัวใจสำคัญในการเจรจาต่อรอง
การเริ่มต้นด้วยการมีไมตรีที่ดีต่อกัน
บุคคล แยกออกจากปัญหา
เน้นเรื่องผลประโยชน์มากกว่าใครแพ้ ใครชนะ
ทางเลือกควรเป็นชนิด win – win solution คือ แบบ ชนะ – ชนะ
ต้องตกลงกันตามกฏเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝุาย
การตัดสินใจ (Decision making)
เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล
ความสำคัญของการตัดสินใจ
ช่วยให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่มีคุณภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ
ช่วยลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
ช่วยให้บุคคลสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเอง
ช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจและมีการพัฒนาศักยภาพของตน
ช่วยให้เกิดการประหยัดเวลา แรงงาน ทรัพยากรในการปฏิบัติ
กระบวนการตัดสินใจ
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
หาวิธีการแก้ปัญหาวิเคราะห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดีผลเสียของแต่ละวิธี
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลการตัดสินใจ
การบริหารเวลา
(Time Management )
การกำหนดและควบคุมการปฏิบัติงาน ให้บรรลุผลตามเวลา และวัตถุประสงค์ที่กำหนด
ระบบการบริหารเวลา
(Time Management System)
การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
A = มีความสำคัญมากต้องทำก่อน
B = มีความหมายสำคัญเช่นกัน ถ้ามีเวลาก็ควรทำ
C = ถ้าไม่ทำขณะนี้คงไม่เป็นไร เมื่อทำอย่างอื่นเสร็จแล้วจึงค่อยทำงาน
การวางแผน (Planning)
ลำดับงานที่จะทำ
ยึดหลัก ๔W
ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ
การติดตามผล
แผนสำรอง
การบริหารความขัดแย้ง
ผลจากความขัดแย้ง
ผลทางลบ
การสื่อสารถูกบิดเบือนไม่ทั่วถึง
ไม่ได้รับความร่วมมือ
ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน
ขาดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
คุณภาพการตัดสินใจต่ำ
อาจทำให้ผู้บริหารใช้อำนาจเป็นเผด็จการมากขึ้น
ผลทางบวก
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการทำงาน
การควบคุมการปฏิบัติงานจะดีขึ้น
ความรอบคอบ ความมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
เกิดการพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
สภาพการณ์ที่คนหรือกลุ่มคนเกิดความไม่เข้าใจกัน มีความรู้สึกไม่พึงพอใจ
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์ พบมากที่สุด
บทบาทไม่ชัดเจน เกิดความไม่แน่ใจว่าเขามีหน้าที่ต้องทำอะไรบ้าง
เป้าหมายการทำงาน ของบุคคลมีความแตกต่างกัน
อำนาจ อำนาจตามตำแหน่ง (Authority) และอำนาจบารมี (Power)
การเปลี่ยนแปลง การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to change) เป็นธรรมชาติ
การบริหารความขัดแย้ง
การชนะ–แพ้ (Domination)
การประนีประนอม (Compromise)
การประสานประโยชน์ (Integrated Solution)
ความขัดแย้งในงานการพยาบาล
การมีพฤติกรรมที่ต่อต้านหรือฝ่าฝืน
ความเครียด
อำนาจหน้าที่ของแพทย์
ความเชื่อ ค่านิยมและเปั้าหมาย
สาเหตุอื่นๆ เช่นการเปลี่ยนแปลง
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
เป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคคล โดยผู้บังคับบัญชา ให้อิสระในการตัดสินใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมถึงการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน และส่งเสริมให้บุคคลเกิดความสามารถในทำงานและแก้ปัญหาต่างๆได้บรรลุผลสำเร็จของตนเองและองค์กร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
ระบบโครงสร้างองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
บุคลากร
ความไว้วางใจในองค์กร
ลักษณะงาน
สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
กลยุทธ์การเสริมสร้างพลังอำนาจ
การบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม (participative management) เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์และความเชี่ยวชาญของผู้ใต้บังคับบัญชา
ทำตัวเป็นแบบอย่างเป็นพี่เลี้ยงสอนงานการสื่อสารพฤติกรรมที่แสดงออกอย่างเหมาะสม
จัดระบบงานที่ท้าทายเพิ่มโอกาสความรับผิดชอบในการทำงานทำให้งานนั้นน่าสนใจ
จัดระบบเสริมแรง (competence based reward)
สร้างระบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feed baksystem) การติดตามให้ความสนใจในการปฏิบัติงาน
2 สร้างเป้าหมายงาน goal setting) สร้างเป้าหมายที่ท้าทายชัดเจนเป็นที่ยอมรับและให้รางวัลเมื่องานบรรลุเป้าหมาย
นางสาวทอฝัน จันทร์ที เลขที่ 30 (603101030)