Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปมีปฏิสัมพันธ์ ในการดำเนินการแก้ไขปัญหา จัดการกับความแตกต่างระหว่างกัน โดยสันติวิธี การโน้มน้าว การประนีประนอม เพื่อแสวงหาข้อยุติที่ทุกฝ่ายตกลงยอมรับกันได้ บรรลุความต้องการของทุกฝ่าย
จุดประสงค์ของการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น หรือข้อเสนอที่แตกต่างกันเพื่อให้ผู้เจรจาได้สิ่งที่ต้องการ ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับอีกฝุายหนึ่งได้ด้วย
องค์ประกอบของการเจรจาต่อรอง
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีความคิดเห็นหรือความต้องการที่แตกต่างกัน
กระบวนการ การเจราจาต่อรองเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอนเริ่มตั้งแต่วิเคราะห์ วางแผน และช่วงเจรจา
ความพยายามที่จะแก้ปัญหาเรื่องที่จะเจรจาคือจุดประสงค์ของการที่ทั้งสองฝ่ายต้องประชุมตกลงกัน
ความแตกต่าง แต่ละฝ่ายต้องตระหนักว่าทั้งคู่มีความแตกต่างกัน หรือมีสิ่งที่แตกต่างกันจะเสนอ ดังนั้นต้องทำความเข้าใจในแต่ละฝ่ายก่อน
กระบวนการเจรจาต่อรอง (The negotiation process)
ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
ขั้นกำหนดกฏกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
ขั้นทำความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (clarification and justification)
ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา ( bargaining and problem solving)
ขั้นจบการเจรจาและนำไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม
ข้อดี คือ สามารถส่งเสริมและรักษาสัมพันธ์ภาพของทั้ง
2 ฝ่ายไว้ได้ และเรื่องสามารถลงเอยด้วยดี
ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น มีความไว้ใจกัน
มองคู่เจรจาเป็นมิตร และยอมตามเพื่อหลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแว้ง
ข้อเสีย คือ การต่อรองอาจทำให้เสียเปรียบและถูกครอบงำโดยคู่เจรจาที่ใช้การต่อรองแบบแข็ง
หลักสำคัญในการเจรจาต่อรอง
ความจริงใจ (sincerity)
ความเข้าใจ (Understanding)
การยอมรับ ( Acceptance)
การสื่อสาร (Communication)
การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision Making)
การตัดสินใจ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล บนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ เพื่อเลือกทางเลือกซึ่งมีอยู่หลายแนวทางที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากรบุคคล มีการสั่งการเพื่อนำไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ต้องการ
7 ขั้นตอน ของการแก้ปัญหา
หาวิธีแก้ที่เป็นไปได้
เลือกวิธีแก้ให้ดีที่สุด
วิเคราะห์สาเหตุสำคัญ
วางแผนการปฏิบัติ
กำหนดปัญหาให้ถูกต้องชัดเจน
ติดตามและประเมินผล
เข้าใจสภาพการณ์
ข้อจำกัดของการตัดสินใจของผู้บริหาร
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
การตัดสินใจผิดเพราะไม่สามารถควบคุมบางอย่างได้
5 . ข้อจำกัดด้านเวลา
การเบี่ยงเบนที่ไม่ปรากฏออกมาให้เห็น
การตัดสินใจโดยเน้นที่ความพอใจและการยอมรับของคนในองค์การ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร
วัฒนธรรมและความเชื่อถือของบุคคล (Belief)
ประสบการณ์และการรับรู้ในอดีต (Experience)
อคติและความล าเอียง (Bias)
การบริหารเวลา (Time Management)
การกำหนดและการควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเวลาและวัตถุประสงค์ที่กำหนดเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในงานหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ระบบการบริหารเวลา (Time Management System)
การวางแผน (Planning)
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
เทคนิคการบริหารเวลา
จดบันทึกการใช้เวลาในแต่ละวัน
ตั้งเปูาหมายและวัตถุประสงค์
วางแผนงานล่วงหน้า
พิจารณางานที่จะท าต่อไป
ใช้โทรศัพท์ให้เป็น
มีความรับผิดชอบ
สร้างมนุษยสัมพันธ์
เพิ่มเวลา
จัดล าดับความส าคัญของงานให้ชัดเจน
ใช้ชีวิตอย่างสมดุล
ลงมือท างานที่ยากที่สุด
มอบหมายงาน
วางแผนฉลองความส าเร็จ
การบริหารความขัดแย้ง (Conflict Management)
สภาพการณ์ที่คนหรือกลุ่มคนเกิดความไม่เข้าใจกันมีความรู้สึกไม่พึงพอใจหรือคับข้องใจที่จะปฏิบัติงานซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากสภาพทรัพยากรทางการบริหารหรือตำแหน่งที่มีจำกัดและไม่สามารถตอบสนองความต้องการของคน
ผลจากความขัดแย้ง
ผลทางลบ
การสื่อสารถูกบิดเบือนไม่ทั่วถึง
ไม่ได้รับความร่วมมือ
ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน
ขาดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
คุณภาพการตัดสินใจต่ำ
อาจทำให้ผู้บริหารใช้อำนาจเป็นเผด็จการมากขึ้น
ผลทางบวก
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการทำงาน
การควบคุมการปฏิบัติงานจะดีขึ้น
ความรอบคอบ ความมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
เกิดการพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict)
ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict)
ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict)
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์ พบมากที่สุด
บทบาทไม่ชัดเจน เกิดความไม่แน่ใจว่าเขามีหน้าที่ต้องท าอะไรบ้าง
เปูาหมายการท างาน เปูาหมายในการท างานมีความแตกต่างกัน
อ านาจ อ านาจตามต าแหน่ง (Authority) และอ านาจบารมี (Power)
การเปลี่ยนแปลง การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to change) เป็นธรรมชาติ
การบริหารความขัดแย้ง
การชนะ–แพ้ (Domination)
การประนีประนอม (Compromise)
การประสานประโยชน์ (Integrated Solution)
ความขัดแย้งในงานการพยาบาล
การมีพฤติกรรมที่ต่อต้านหรือฝ่าฝืน
ความเครียด
• อ านาจหน้าที่ของแพทย์
ความเชื่อ ค่านิยมและเป้าหมาย
สาเหตุอื่นๆ
การเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
กระบวนการที่ผู้บังคับบัญชา สังคมแสดงถึงการยอมรับ ชื่นชม ส่งเสริมการพัฒนาและเสริมสร้างบุคคลท าให้บุคคลเกิดความสามารถที่จะดำเนินงานแก้ไขปัญหาโดยการสร้างแรงกระตุ้น แรงจูงใจเพื่อให้ผู้ปฏิบัติเกิดความเชื่อมั่นจากความรู้สึกภายในภายในเกิดการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์การเสริมสร้างพลังอำนาจ
สร้างระบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feed back system) การติดตามให้ความสนใจในการปฏิบัติงาน
จัดระบบเสริมแรง (competence based reward)
สร้างเปูาหมายงาน (goal setting) สร้างเปูาหมายที่ท้าทาย ชัดเจน เป็นที่ยอมรับและให้รางวัลเมื่องานบรรลุเปูาหมาย
จัดระบบงานที่ท้าทาย เพิ่มโอกาส ความรับผิดชอบในการท างาน ท าให้งานนั้นน่าสนใจ
การบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม (participative management) เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเชี่ยวชาญของผู้ใต้บังคับบัญชา
ท าตัวเป็นแบบอย่าง เป็นพี่เลี้ยง สอนงาน การสื่อสาร พฤติกรรมที่แสดงออกอย่างเหมาะสม