Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis), ที่มา : ปียฉัตร คงเมือง.(ม.ป.ป.)…
โรคกระดูกพรุน
(Osteoporosis)
Primary osteoporosis
Type I
Postmenopausal osteoporosis
พบในเพศหญิงที่หมดประจำเดือน
ขาด estrogen
เพิ่มการทำงานของ Osteoclast
ทำให้ Osteoblast และ Osteocyte มีอายุสั้นลง
การหลั่ง Parathyroid Hoemone ลดลง
Vitamin D ลดลง
1 more item...
ไตเพิ่มการขับแคลเซียม
1 more item...
Type II
Senile osteoporosis
โรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ พบอายุ75ปี
การสร้างกระดูกใหม่(bone formation) ลดลง
เพิ่มการสูญเสียมวลกระดูก
การทำหน้าที่ของไตลดลงและได้รับแสงแดดน้อยลง
การสังเคราะห์ Vitamin D ลดลง
Osteoblast ทำหน้าที่ลดลง
ปฏิกิริยาการดูดซึมของลำไส้ต่อ Vitamin D ลดลง
การดูดซึมแคลเซียมลดลง
ปริมาณแคลเซียมในกระแสเลือดลดลง
เพิ่มการหลั่ง Parathyroid Hoemone
1 more item...
Secondary osteoporosis
เกิดจากสาเหตุอื่น
การได้รับยาบางชนิด
เช่น Glucocorticoids (โดยเฉพาะ prednisolone)
การเจ็บป่วยด้วยโรค
Hyperparathyriodism
Cushing's syndrome
Diabetes mellitus
Rheumatic diseases
Gastrointestinal
Inflammatory bowel,Gastrointestinal surgery
Hematological disorders ความผิดปกติของระบบเลือด
Thalassemia ,Leukemia and lymphoma
Neurological disorders
parkinson's disease,stroke,Epilepsy,spinal cord injury
พฤติกรรมสุขภาพและวิถีชีวิต
ดื่มเหล้า
สูบบุหรี่
ดื่มกาแฟ
ขาดการออกกำลังกาย
ขาดการได้รับแคลเซียมและวิตามันดี
รูปร่างเล็ก ผอม บาง
พันธุกรรม(โดยเฉพาะมารดา)
เชื้อชาติ (ชาวผิวขาวมีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุนมากกว่าชนผิวดำ)
เพศ (เพศหญิงเป็นมากกว่าเพศชาย)
อายุ(ผู้สูงอายุ)
Other disorders
COPD,HIV/AIDS,Congestive heart failure
กิจกรรมการพยาบาล
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงของการเป็นภาวะกระดูกพรุน
งดการสูบบุหรี่ เพราะบุหรี่กระตุ้นให้เกิดการสลายแคลเซียมออกจากกระดูกมากขึ้น
ไม่ดื่มน้ำอัดลมปริมาณมาก เพราะกรดฟอสฟอริกในน้ำอัดลมทำให้เกิดการสลายแคลเซียมออกจากกระดูกมากขึ้น
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ในปริมาณมาก เพราะแอลกอฮอล์จะขัดขวางการดูดซึมแคลเซียมของลำไส้เล็ก
หมั่นตรวจวัดมวลกระดูกโดยเฉพาะผู้หญิงที่หมดประจำเดือนแล้วควรตรวจ 1 - 2 ปีต่อครั้ง
แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และได้รับแคลเซียมและวิตามินดีที่เพียงพอ โดยควรได้รับแคลเซียม 1200 มิลลิกรัมต่อวันโดยแคลเซียมที่ได้รับจากอาหารจะดีกว่าการกินแคลเซียมเสริม และควรได้รับวิตามินดี 800-1000 IU ต่อวัน
แนะนำให้ออกกำลังกายเป็นประจำ( weight-bearing and muscle-strengthening exercise )เช่น การเดิน การวิ่ง เต้นแอโรบิก กระโดดเชือก รำมวยจีน เต้นรำ เป็นต้น ร่วมกับการยกน้ำหนัก จะช่วยเพิ่มความแข็งแรง ทั้งกระดูกและกล้ามเนื้อ
รับแสงแดด ช่วยให้ร่างกายสังเคราะห์วิตามินดี ควรจะออกไปรับแสงแดดอ่อนๆ ยามเช้าหรือยามเย็น วันละ 10-15 นาที
รักษาน้ำหนักตัวอย่าให้ต่ำกว่าเกณฑ์
นางสาวรัศมี สุทธิประภา เลขที่ 40 ห้องA รุ่นที่ 26
ที่มา : ปียฉัตร คงเมือง.(ม.ป.ป.).โรคกระดูกพรุน.สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563.จากเว็บไซต์
https://www.srth.moph.go.th/region11_journal/document/Y32N2/6_Porous_bone.pdf
.
สุภาพ อารีเกื้อ.(2544).ภาวะกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ.สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563.จากเว็บไซต์
https://med.mahidol.ac.th/nursing/sites/default/files/public/journal/2544/issue_03/03.pdf
.
โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา.(ม.ป.ป.).วิธีป้องกัน การเกิดโรคกระดูกพรุนและกระดูกหัก.สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563.จากเว็บไซต์
https://www.bangkokpattayahospital.com/th/healthcare-services/item/848-osteoporosis-9-th.html
.
โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธิน.(2563).กระดูกหักซ้ำในผู้สูงอายุจากภาวะกระดูกพรุน.สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563.จากเว็บไซต์
https://www.paolohospital.com/th-TH/phahol/Article
/Details/บทความ-ผู้สูงอายุ/กระดูกหักซ้ำในผู้สูงอายุจากภาวะกระดูกพรุน.