Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท - Coggle Diagram
ระบบประสาท
กายวิภาคและสรีระวิทยาของระบบประสาท
เส้นประสาทคู่ที่1อออเเฟกทอรี่
รับความรู้สึกเกี่ยวกับจมูก การได้กลิ่นรับกลิ่น
คู่ที่2.ออพติก
รับความรู้สึกเกี่ยวกับการมองเห็น
คู่ที่3 ออคิวโลมอเตอร์
รับความรู้สึกจากสมองส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลูกตา
คู่ที่4 ทอเคลีย
สั่งการไปยังกล้ามเนื้อลูกตา ทำให้มองเห็น
คู่ที่5 ไตรเจอมินัล
รับความรู้สึกจากใบหน้า ลิ้น ฟัน ปากเหงือก
คู่ที่6 แอบดิวเซนส์
เป็นเส้นประสาทสั่งการออกจากพอนส์ไปยังกล้าทเนื้อลูกตา ทำให้เกิดการชำเลือง
คู่ที่7เฟเซียล
สั่งการไปยังกล้ามเนื้อหน้า
คู่ที่8 ออดิทอรี่
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน
คู่ที่9กลอสโซฟารินเจียล
รับความรู้สึกจากช่องคอ
คู่ที่10 เวกัส
รับความรู้สึกจากช่องคอ กล่องเสียง ช่องอก ช่องท้อง
คู่ที่11 แอกเซสซอรี่
สั่งการจากเมดัลลาออบลองกาต้า
และไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อคอ
คู่ที่12 ไฮโพกลอสวัล
สั่งการไปยังกล้ามเนื้อลิ้น
โรคและความผิดปกติที่พบบ่อยในระบบประสาท
โรค อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหลอดเลือดสมอง
อาการ ปากเบี้ยว พูดไม่ออก พูดไม่ชัด แขนชาไม่มีแรง เซ
โรคปวดศีรษะ
อาการ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง และเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ความรุนแรงตลอด 24 ชั่วโมง ปวดศีรษะจากการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ และมีอาการ คลื่นไส้ ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดศีรษะเมื่อ ไอ จาม หรือมีการก้มตัว หรือ เบ่งอุจจาระ ปวดศีรษะเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
โรคปวดศีรษะ
อาการ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง และเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ความรุนแรงตลอด 24 ชั่วโมง ปวดศีรษะจากการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ และมีอาการ คลื่นไส้ ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดศีรษะเมื่อ ไอ จาม หรือมีการก้มตัว หรือ เบ่งอุจจาระ ปวดศีรษะเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
เส้นประสาทถูกกดทับ บริเวณหลัง
อาการ ปวดหลัง ร้าวลงขา ข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง ขาไม่มีแรง
เส้นประสาทถูกกดทับ บริเวณข้อมือ
อาการ ชาเป็นเหน็บ แสบร้อนบริเวณฝ่ามือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง ด้านหน้าหรือด้าน หลังผ่ามือ มักจะเกิดตอนกลางคืนในขณะหลับ ปวดอาจจะร้าวไปถึงข้อศอกกล้ามเนื้อบริเวณโคนนิ้วหัวแม่มือฝ่อไม่มีแรงกำ
ปลายประสาทอักเสบ จากโรคเบาหวานหรือแอลกอฮอล์พิษจากเหล้าหรือโลหะหนัก
อาการ ชาปลายเท้า อ่อนแรง ปวดแสบปวดร้อนปลายเท้า
ภาวะน้ำคลั่งในสมอง อาการ ความจำเปลี่ยนแปลง ก้าวเดินผิดพลาดกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัญหาในระบบประสาทภายใต้กำกับวิชาชีพ
1) ด้านการ
พยาบาลผู้ป่ วยในระยะวิกฤติ
2) ด้านการพยาบาลผู้ป่ วยที่ได้รับยาละลายลิ่
3) ด้านการสื่อสาร
4) ด้านการฟื้นฟูสภาพ
5.ด้านการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
้ คือ 1) ด้านการ
พยาบาลผู้ป่ วยในระยะวิกฤติ 2) ด้านการพยาบาลผู้ป่ วยที่ได้รับยาละลายลิ่
มเลือด 3) ด้านการสื่อสาร 4) ด้านการฟื้นฟูสภาพ
6) ด้านการพยาบาลระยะประคับประคอง หากพยาบาลผู้ดูแล
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด
สมองในระยะวิกฤติสามารถปฏิบัติตามบทบาทหน้า
ที่รวมทั้งมีสมรรถนะสําคัญในการดูแลผู้ป่ วยอย่างเป็ นองค์รวมย่อมจะส่ง
ผลลัพธ์ที่ดีทางคลินิกและด้านการพยาบาลต่อไป