Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
OSTEOARTHRITIS
การพยาบาลผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม Osteoarthritis of the…
OSTEOARTHRITIS
การพยาบาลผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม นางสาวธัชพรรณ อัศวภูมิ เลขที่ 47 ห้อง B
ความหมาย
คือ โรคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมของข้อเข่า กระดูกอ่อนผิวข้อ (articular cartilage) ในข้อชนิดที่มีเยื่อบุ (diarthrodial joint) โดยพบการทำลาย กระดูกอ่อนผิวข้อซึ่งเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ อย่างต่อเนื่องตามเวลาที่ผ่านไป กระดูกอ่อนผิวข้อมีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี (biochemical) ชีวกลศาสตร์ (biomechanical) และโครงสร้าง (biomorphology) รวมถึงกระดูกบริเวณ ใกล้เคียง เช่น ขอบกระดูกในข้อ (subchondral bone) หนาตัวขึ้น มีการ เปลี่ยนแปลงของน้ำไขข้อเท้าให้คุณสมบัติการหล่อลื่นลดลง
อาการและอาการแสดง
-
-
-
ข้อบวมและผิดรูป (swelling and deformity) ข้อที่บวมเป็นการบวมจากกระดูกงอก โปนบริเวณข้อสูญเสียการเคลื่อนไหว และการทำงาน
-
-
อาการปวดเข่า เป็นอาการที่สำคัญเริ่มแรกจะปวดเมื่อยตึงทั้งด้านหน้าและด้านหลังของเข่า หรือบริเวณน่อง เมื่อเป็นมากขึ้นจะปวดบริเวณเข่าเมื่อมีการเคลื่อนไหว ลุกนั่งหรือเดินขึ้นบันไดไม่คล่องเหมือนเดิม
การวินิจฉัย
การเจาะเลือด การเจาะเลือดเพื่อวินิจฉัยแยกโรคที่อาจจะเป็นสาเหตุของโรคปวดเข่าเรื้อรังเช่น โรคเกาต์ หรือโรครูมาตอยด์
การถ่ายภาพรังสี ก็จะพบว่าช่องว่างระหว่างกระดูกเข่าแคบลงซึ่งหมายถึงกระดูกอ่อนมีการสึกหรอ หากสึกมากก็ไม่พบช่องว่างดังกล่าว
-
-
การรักษา
-
แบบใช้ยา
-
NSAIDs
เพื่อลดอาการปวดข้อและลดอาการอักเสบของข้อ เริ่มขนาดต่ำที่สุด หากไม่ได้ผลจึงเพิ่มขนาด ระมัดระวังในผู้ป่วยโรคตับ
-
ผลข้างเคียง ปวดจุกลิ้นปี่ กรวยไตตาย มีเลือดออกช่องคลอดผิดปกติ ใจสั่น Heart block cardiovascular risk มีเสียงดังในหู ซีด หอบหืด ปวดศรีษะ
-
-
ผลข้างเคียงของยากลุ่ม COX-2 inhibitors ได้แก่ ท้องอืด ความดันโลหิตสูง หญิงเนื้องอกที่เต้านม ชายต่อมลูกหมากผิดปกติ tinnitus มีโปรตีนในปัสสาวะ จ้ำเลือด
ผู้ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น UGI bleeding อายุ > 65 ปี โรคตับ เบาหวาน หัวใจ หรือใช้ยาร่วม เช่น สเตียรอยด์ ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด ควรหลีกเลี่ยงยากลุ่มนี้
การฉีดสเตียรอยด์เข้าข้อ (INTRAARTICULAR STEROIDS)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
- กระดูกรอบข้อบางหรือผุ (juxta-articular osteoporosis)
- ไม่ตอบสนองต่อการฉีดสเตียรอยด์เข้าข้อ
การฉีดน้ำไขข้อเทียม (INTRAARTICULARHYALURONIC ACID INJECTION)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
สาเหตุ
เคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณเข่ามาก่อน เช่น กระดูกบริเวณเข่าหัก, ข้อเข่าเคลื่อนหลุด, เส้นเอ็นฉีกขาด หรือหมอนรองเข่าฉีกขาด
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อกระดูกเสื่อมสภาพจะรับแรงที่มากระทำที่ผิวข้อได้น้อยลง ทำให้กระดูกอ่อนผิวข้อเกิดรอยแตกเป็นริ้วๆ เปลี่ยนสภาพจากสีขาวใสมันเรียบเป็นสีเหลืองหรือน้ำตาล ผิวกระดูกอ่อนที่เสื่อมสภาพจะหลุดเป็นชิ้นๆ ลอยอยู่ในน้ำหล่อเลี้ยงข้อซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการอักเสบของข้อ มีการหลั่งสารไซโตไคน์ ซึ่งจะส่งเสริมการอักเสบของข้อและการเสื่อมของกระดูกอ่อนสำหรับกระดูกที่อยู่ใต้กระดูกอ่อน (Subchondral bone) เมื่อกระดูกอ่อนเสื่อมสภาพไม่สามารถช่วยรับแรงได้ แรงจึงผ่านมาที่กระดูกโดยตรงทำให้กระดูกเกิดรอยแตกเล็กๆน้อยๆ ร่างกายจะพยายามซ่อมแซมบริเวณข้อที่สึกหรอโดยเพิ่มความหนาของกระดูกที่อยู่ใต้กระดูกอ่อน จึงทำให้กระดูกบริเวณนี้มีลักษณะแข็ง ที่บริเวณขอบข้อจะมีกระดูกงอกเป็นเดือย (Spur หรือ Osteophyte) ซึ่งร่างกายซ่อมแซมเพื่อให้ข้อที่เสื่อมสภาพมีความแข็งแรง
ในระยะที่โรคเป็นมากขึ้น อาจเกิดถุงน้ำที่บริเวณกระดูกแข็งใต้กระดูกอ่อน ซึ่งเกิดจากน้ำหล่อเลี้ยงข้อที่มีมาก ขณะที่ข้ออักเสบจึงแทรกเข้าไปขังในกระดูก นอกจากนี้เยื่อหุ้มข้อ (Capsule) จะหนาตัวขึ้นและหดสั้นลง เนื่องจากการหดตัวของพังผืด ทำให้ข้อผิดรูปและเคลื่อนไหวไม่ได้เต็มที่ และเมื่อผิวข้อถูกทำลายหมดทำให้เกิดการเสียดสีกันของกระดูกจะทำให้มีอาการปวดข้อได้
การพยาบาล
-
-
-
-
-
-
-
ให้ออกกำลังกายโดยให้กล้ามเนื้อทำงานแต่ข้อไม่เคลื่อนหรือแบบ Isometric เช่น เกร็งกล้ามเนื้อหน้าขา เป็นต้น
-
-
-