Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
แบ่งได้ 3 ระยะ
Early / late phase
( ปากมดลูกเปิดหมด )
ผู้คลอดจะมีอาการสงบ
นอนพักได้ในช่วงสั้นๆ
อยู่ในภาวะที่ควบคุมได้
10-30 นาที
Descent / active phase
( ระยะที่เคลื่อนต่ำของทารก )
ตั้งเเต่ ปากมดลูกขยายเต็มที่ ถึงศีรษะทารกเคลื่อนลงมาที่ฝีเย็บ
เห็น Labia minora แยกออก + เห็นส่วนนำของทารก
พบ Crowning ส่วนที่กว้างสุดของทารก
ส่วนนำจะไม่กลับเข้าไปแม้มดลูกคลายตัว
ครรภ์แรก 30 นาที
ครรภ์หลัง 15 นาที
Perineal phase
( ระยะเบ่งคลอดจริง )
ตั้งแต่ศีษะทารกอยู่ที่ฝีเย็บ ถึงศีรษะคลอดออกมา
ฝีเย็บบาง โป่งตึง มันวาว
มองเห็นรูทวารหนัก
ครรภ์แรก จำเป็นต้องตัดฝีเย็บ
ครรภ์หลัง นวดให้นุ่มไม่ให้ขาดเพิ่ม
15-45 นาที
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
แรงผลักดัน
การหดตัวของมดลูกที่แรง + ถี่ขึ้น
ถุงน้ำทูลหัวแตก + ทารกเคลื่อนต่ำ -> ช่องคลอดขยาย
Ferguson's reflex
มดลูกหดถี่มากขึ้น
Oxytocin หลั่งเพิ่ม
มดลูกหดรัดตัว เพิ่ม
ปากมดลูกบาง ขยาย
มดลูกหดรัดตัวทุก 2-3 นาที
นาน 60-90 วินาที
ความรุนแรง 2+ , 3+
การหดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง + Diaphragm ( แรงเบ่งแม่ )
ช่วยขับทารกออกมา (สำคัญ :!!:)
เพิ่มแรงขับภายในโพรงมดลูก
Pushing reflex : มารดาอยากเบ่ง เพราะส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมากด Pelvic floor และ Rectum -> รู้สึกปวดอุจจาระ
ความอยากเบ่งเกิดขึ้นเมื่อ มดลูกหดรักตัวเป็น Volontory ในระยะแรก
อยากเบ่งมากขึ้น -> Pelvic floor ถูกยืดมากขึ้น ->
มดลูกหดรัดตัวเป็น Involuntory ( อยู่นอกอำนาจจิตใจ )
กรณีแม่ไม่มีแรงเบ่ง
การผ่าคลอด (Caesarean section)
การใช้คีม (Forceps extraction)
ใช้เครื่องดูดสูญญากาศ (Vacuum extraction)
การเปลี่ยนแปลงที่ตัวทารก
ถุงน้ำคร่ำแตก -> ตัวทารกไม่มีอะไรหุ้ม
เมื่อมดลูกหดรัดตัว -> เกิดแรงดันจากส่วนยอดมดลูก ไปกดที่ตัวทารก -> ทารกอยู่ทรงก้มมากขึ้น เคลื่อนต่ำลง -> ทารกปรับตัวเข้ากับช่องเชิงกานแคบ แล้วผ่านมาได้
ช่องเชิงกรานเล็ก -> CPD : สัดส่วนทารกไม่สัมพันธ์กับช่องเชิงกราน
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของพื้นที่เชิงกราน
เด็กพยายาม Molding , เมื่อเด็กเคลื่อนต่ำลงมา
การยืดขยาย -> เยื่อบุช่องคลอดฉีกขาด + เลือดออกเล็กน้อย
ด้านหลังพื้นเชิงกรานถูกศีรษะเด็กดันลงมาข้างล่าง -> พื้นเชิงกรานเปลี่ยนรูปร่างใหม่
อาการแสดงเมื่อเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
อาการแสดง
อาการแสดงที่ช่วยในการวินิจฉัย ( Proable sign )
รู้สึกอยากเบ่ง
มูกปนเลือดออกมาเพิ่ม
ถุงน้ำทูลหัวแตกเอง
ฝีเย็บโป่งตึง มันวาว
ปากช่องคลอดอ้าเล็กน้อย
รูทวารหนักตุง + ถ่างขยายเล็กน้อย
มดลูกหดรัดตัวถี่ขึ้น ทุก 2-3 นาที นาน 60 วินาที
มองเห็นส่วนนำของทารกทางช่องคลอด
อาการแสดงที่บ่งบอกชัดเจน ( Positive sign )
ตรวจภายใน ( PV )
พบส่วนนำของทารก
ไม่พบขอบปากมดลูก
การประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินสภาพทั่วไปของผู้คลอด
V/S
Weekness
ภาวะขาดน้ำ
ชีพจร ไม่เกิน 100 bpm.
Bladder full : ควรกระตุ้นมารดาปัสสาวะ , Catheter
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
2.1 การหดรัดตัวของมดลูก
ไม่มีความเสี่ยง ประมินทุก 15 นาที
มีความเสี่ยง ประมินทุก 5 นาที
2.2 การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ + การหมุนภายในของทารก
Active phase 20 - 50 mins
Ferguson's reflex -> อยากเบ่ง -> ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำไปปากมดลูก -> Oxytocin หลั่ง + มดลูกหดรัดตัวแรง
เบ่ง -> ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำถึงพื้นเชิงกราน -> ฝีเย็บ + ทวารหนักยืดขยาย -> Pushing reflex
Latent phase 5 - 15 mins
ระยะสงบ , มดลูกหดรัด ลดลง
ไม่อยากเบ่ง : เป็นระยะพัก ควรให้ผู้คลอดพักอย่างเต็มที่
Transition phase 5 - 15 mins
มองเห็นศีรษะทารกที่ปากช่องคลอด
มีแรงเบ่งที่มีประสิทธิภาพ -> เกิดการคลอดศีรษะทารก
ผู้คลอดส่งเสียงร้อง เนื่องจากมีความเจ็บปวด + ควบคุมตัวเองไม่ได้
2.3 การประเมินระยะเวลาของการคลอด
ครรภ์แรก 1-2 ชม.
ครรภหลัง 30 นาที - 1 ชม.
สภาวะการเบ่งของผู้คลอด
เบ่งถูกต้อง
ขณะเบ่ง ทวารหนักจะตุง ยืดขยาย หดเข้าที่เมื่อหยุดเบ่ง
ขณะเบ่งส่วนนำจะเคลื่อนลงมาเรื่อยๆ
การเบ่งที่มีประสิทธิภาพ : สูดลมหายใจเข้าเต็มที่ แล้วเบ่งยาวๆ
ไม่ควรกลั้นหายใจในการเบ่งแต่ละครั้ง เกิน 6-10 วินาที
คำแนะนำในการเบ่งคลอด
เบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
เบ่งในท่านอนหงาย ส้นเท้าจิกที่นอน / Lithotomy มือ 2 ข้าง จับข้างเตียง
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัว ให้สูดหายใจเข้าเต็มที่ + กลั้นหายใจ + ยกหัวคางชิดอก + หุบปากไว้ + อัดกำลังเบ่งข้างล่างเหมือนเบ่งถ่ายอุจจาระ
ระวัง Valsalva maneuver ( ความดันในช่องอกเพิ่มขึ้น -> เลือดกลับสู่หัวใจ -> เลือดไปเลี้ยงมดลูก + รกลดลง -> ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน )
ปฏิกิริยาตอบสนองด้านจิตสังคม
ครรภ์แรก : เกิดความกลัว รู้สึกว่าฝีเย็บจะขาด , ควรอยู่เป็นเพื่อน
พฤติกรรมก้าวร้าว ส่งเสียงร้อง ท้อแท้ หมดหวัง ไม่สนใจสิ่งเเวดล้อม สนใจตัวเองมากกว่าทารก
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
ฟัง FHS ( ฟังขณะมดลูกคลายตัว ) ทุก 5 mins ใช้ drop tone
ฟัง 6 วินาที * 10
หากผิดปกติ
ให้บันทึกอาการการเปลี่ยนแปลง
ให้นอนตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจน 4-5 ลิตร/นาที
FHS อยู่ระหว่าง 100-160 bpm.
ประเมินการปรับตัวทารกตามกลไกการคลอด
เป็นระยะทารกผ่านช่องเชองกรานแนวล่าง
กลไก Internal rotation และ Extension ประเมินได้จากการตรวจทางช่องคลอด / PV เท่านั้น
ประเมินเกี่ยวกับ
ท่าของทารก (position)
attitude
synclitism/Asynclitism
molding
caput succedaneum
หลักการพยาบาลผู้คลอด
หลักการพยาบาล
ความก้าวหน้าของการคลอด
สังเกต Uterine contraction
( ปกติทุก 2-3 นาที นาน 60-90 วินาที)
สังเกตการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ ( Station )
การเจาะถุงน้ำ ( Amniocentesis )
การเบ่งคลอด
ควรแนะนำผู้คลอดให้ทราบว่าจะเบ่งเมื่อไร และอย่างไร
ไม่ควรเบ่งนานเกิน 6-10 วินาที เพราะอาจเกิด
valsalva maneuver
การพยาบาลทั่วไป
การดูแลความสุขสบาย และจัดการสิ่งแวดล้อม
การให้ผู้คลอดอยู่ในท่าที่เหมาะสม
การได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอ
การดูแลกระเพาะปัสสาวะ
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลผู้สนับสนุนในการคลอด
การดูแลทารกในครรภ์
การป้องกันการติดเชื้อ
เป้าหมายของการพยาบาล
ช่วยให้ผู้คลอดเบ่งคลอดด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การมีส่วนร่วมในกระบวนการคลอด
ผู้คลอดและทารกในครรภ์ปลอดภัยจากการคลอด
ผู้คลอดได้รับความสุขสบาย และความเจ็บปวดจากการคลอดน้อยที่สุด
ป้องกันการติดเชื้อและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในการคลอด
การเตียมด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
การเตรียมสถานที่และเครื่องมือ เครื่องใช้
เตียงคลอด ควรสะอาดเสมอ แสงสว่างเพียงพอ
:red_flag: อุปกรณ์ในการทำคลอด
:red_flag: Set ผ้า
ผ้าสี่เหลี่ยม สำหรับปูหน้าท้อง ปูรองคลอด ปูหน้าขา เช็ดตัวทารก คลุม Set และผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
ถุงเท้า 1 คู่
เสื้อกาวน์ผ้าเช็ดมือ
ถุงมือ (แล้วแต่สถานที่)
:red_flag: Set อุปกรณ์ในการทำคลอดทารก
กรรไกรตัดฝีเย็บ 1 อัน
กรรไกรตัดสายสะดือ 1 อัน
Artery clamp (ใช้หนีบสายสะดือ) 2 อัน
Tooth forceps 1 อัน (แล้วแต่สถานที่)
ผ้า safe perineum
สำลีชุบ normal saline ใช้เช็ดตา 2 ก้อนและชุบ providine solution ใช้ก่อนตัดสายสะดือ)
ถ้วยใส่น้ำยา
ลูกสูบยาง 2 อัน
ยางรัดสายสะดือ (Cord ring)
ชามกลม 1 ใบและชามใส่รก 1 ใบ (ขนาดและจำนวนแล้วแต่สถานที่)
:red_flag: Set อุปกรณ์เย็บแผล
Syringe 5-10 cc 1 อัน
เข็มเบอร์ 18 หรือ 20 และ 23 อย่างละ 1 อัน
Xylocain 1-2% 5-10 cc
Needle holder 1 อัน
เข็มสำหรับเย็บแผล (cutting and non cutting)
กรรไกรตัดไหม 1 อัน Tooth forceps 1 อัน
Catgut No. 2/0 vša Atromatic catgut No.2 / 0
สำลีก้อนใหญ่หรือกอซ
อุปกรณ์ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
:red_flag: อุปกรณ์ที่ต้องคีบเพิ่ม
Set Scrub ประกอบด้วย ชามกลมเล็ก 1 ใบชามกลมใหญ่ 1 ใบ ( แล้วแต่สถานที่ ) สำลีก้อนใหญ่ Nontooth foroceps 1 อัน
น้ำยา Scrub เช่น Providine Scrub, Hibiscrub
Normal saline
การเตรียมตัวผู้คลอด
การจัดท่าคลอด
ท่านอนหงายชันเข่า
นอนศีรษะลำตัวสูง
นอนตะแคง
ท่านอนหงานขึ้นขาหยั่ง
การทำความสะอาดผู้คลอด
Scrub perineum ใช้สำลี 6 ก้อน 8 ก้อน
:red_flag: คลุมผ้า Sterile แก่ผู้คลอด
สวมถุงเท้าด้านไกลตัว ผู้ทำคลอดตามด้วยด้านใกล้ตัว
ปูผ้าสี่เหลี่ยมรองคลอด
ปูผ้า drap หน้าขาทั้งสองข้าง
ปูผ้าสี่เหลี่ยมคลุมหน้าท้องให้ด้านที่เป็นสันอยู่ด้านบน
เตรียมเชียร์เบ่ง
การเตรียมตัวผู้ทำคลอด
เปลี่ยนชุด และสวมอุปกรณ์สำหรับในห้องคลอด
ล้างมือแบบ Sterile , Surgical hand
การทำคลอดปกติ
การพิจารณาย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
และการเข้า Case ทำคลอด
ครรภ์แรก
: ย้ายเมื่อปากมดลูกเปิด 10 ซม. , อยากเบ่ง , เจ็บครรภ์ถี่ , ฝีเย็บตุง
: เข้า Case เมื่อพบ Head seen
ครรภ์หลัง
: ย้ายเมื่อปากมดลูกเปิด 7-8 ซม.
: เข้า Case เมื่อ ปากมดลูกเปิด 10 ซม.
รายที่มีประวัตคลอดเร็ว ( Precipitated labor )
: ย้ายเมื่อปากมดลูกเปิด 5-6 ซม.
: เข้า Case เมื่อ ปากมดลูกเปิด 7-8 ซม.
การทำคลอดศีรษะทารก
ผู้ทำคลอดยืนทางขวาผู้คลอด
เมื่อศีรษะทารกมี Crowning ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือ+นิ้งชี้ข้างซ้าย ช่วยกดที่ยอดศีรษะ เพื่อให้ศีรษะเงยหน้าขึ้นอย่างช้าๆ
มือขวาถือผ้า Safe perineum วางมือทาบบนฝีเย็บ
วางมือทาบบนฝีเย็บ ให้นิ้วหัวแม่มือและอีก 4 นิ้วอยู่คนละด้าน
เมื่อ Sub occiput มายันใต้ขอบล่างกระดูกหัวเหน่า ใช้มือขวาช่วยดันให้ศีรษะเงยขึ้นช้าๆจน Biparietal diameter คลอดออกมา ให้หยุดเบ่ง
ใช้มือซ้ายจับศีรษะเด็กที่อยู่เหนือ Perineum ให้เงยขึ้น พร้อมกับมือขวารวบบริเวณ Perineum และดันที่ 2 ข้างของรูทวารหนักให้หน้าผากเงยขึ้น
เมื่อหน้าผากคลอดออกมา มือขวาช่วยรูด Perineum ผ่านหน้าคางทารกและรวบผ้า safe perineum ทิ้งถังขยะทันที
ภายหลังศีรษะคลอดในท่า Extention ทารกจะหมุน occiput ไปทางเดิมถ้าไม่หมุนผู้ทำคลอดช่วยหมุนเพื่อให้เกิด Restitution, External rotation
ใช้สำลีแห้งหรือชุบ normal saline 2 ก้อนเช็ดตาทารกทั้ง 2 ข้าง
สอดนิ้วชี้เข้าไปในช่องปากเพื่อดูดมูกในปากและจมูกทารก
การทำคลอดไหล่และลำตัว
การตรวจสายสะดือพันคอทารก
สอดนิ้วเข้าไปคลำรอบคอทารก
ถ้าพบสายสะดือพันคอ 1 รอบ ให้สอดนิ้วเข้าไประหว่างสายสะดือและคอทารก แล้วรูดให้ผ่านทายทอยมาด้านหน้าทารก
ถ้าพันคอ 2 – 3 รอบให้ใช้ Artery clamp 2 ตัวหนีบแล้วตัด
การทำคลอดไหล่หน้า
ใช้มือจับศีรษะทารกให้อยู่ระหว่างอุ้งมือทั้ง 2 ข้าง
ค่อยๆโน้มศีรษะทารกลงมาข้างล่างตามแนวช่องเชิงกรานส่วนบนเมื่อเห็นซอกรักแร้จึงหยุด
ห้ามดึงรั้งใต้คางทารกระวังการเกิดภาวะคอเอียง Conqinital torticollis)
การทำคลอดไหล่หลังและลำตัวทารก
จับศรีษะเหมือนการทำคลอดไหล่หน้าแล้วโน้มศรีษะขึ้นในทิศทาง 45 องศา กับแนวดิ่ง
เมื่อเห็นซอกรักแร้ให้ดึงทารกออกมาในแนวตรงโดยเปลี่ยนมือซ้ายที่วางข้างบนศรีษะทารกมารองรับลำตัวแล้วค่อยดึงทารกออกมา
ห้ามสอดนิ้วดึงใต้รักแร้ทารกระวัง Erb-Duchenne Paralysis
การช่วยเหลือทารกภายหลังคลอดทันที
การทำคลอดตั้งแต่ศีรษะเกิดจนลำตัวคลอด ควรใช้เวลา 2-3 นาที
เมื่อทารกคลอดหมดทั้งตัวให้ดูและขานเวลาเกิด ผู้ช่วยคลอดช่วยเขียนป้ายผูกข้อมือ ( ชื่อ-สกุล ผู้คลอด เพศทารก วันที่ เวลาเกิดและน้ำหนัก )
ประเมินสภาวะทารกแรกเกิดด้วย APGAR score นาทีที่ 1, 5, 10
วางทารกที่ผ้ารองคลอด ตะแคงหันหลังให้ชิดปากช่องคลอด หันศีรษะมาทางผู้ทำคลอด ให้สายสะดือวางพาดบนลำตัว ( ป้องกัน Sub-temperature ระมัดระวังทารกเปียกชื้นจากน้ำคร่ำ เลือด )
ดูดมูกจากปากและจมูก จนกว่าทารกจะหายใจดี ( กรณีทารก Active ดีให้ผูกเชือก Landmark ชิด Vulva ก่อน )
เช็ดตัวทารกด้วยผ้าขนหนูแห้ง กระตุ้นให้ทารกร้อง
การผูกและตัดสายสะดือ
ผูกเชือกชิด Vulva เพื่อดูการเคลื่อนต่ำของสายสะดือ ( แล้วแต่สถานที่บางแห่งไม่มี )
ใช้ Artery clamp ตัวแรกที่ใส่ cord ring หนีบ cord ห่างจากตัวทารก 2-3 cms. จากนั้นรีดเลือดที่ cord ก่อนใช้ Artery clamp ตัวที่ 2 หนีบห่างกัน 2-3 cms.
ทำความสะอาดบริเวณที่จะตัดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ( ตามชนิดของโรงพยาบาล )
วาง cord พาดบนนิ้วกลางและนิ้วนางของมือซ้าย นิ้วชี้และนิ้วก้อยวางทับที่ cord สอดสำลีที่ชุบน้ำยาฆ่าเชื้อรองใต้ตำแหน่งที่จะตัด
ตัด cord โดยหันปลายกรรไกรเข้าหาอุ้งมือผู้ทำคลอดและกำมือขณะตัด วาง cord ที่ตัดแล้วบนผ้าคลุมหน้าท้องหรือชามกาละมังที่รองรับรก
ใช้ Tooth forceps หรือเส้นเชือก รูด cord ring จาก Artery clamp รัด cord และบีบ Cord อีกครั้งว่ามีเลือดซึมออกมาหรือไม่ ( บางแห่งใช้เชือกผูกบางแห่งใช้คลิปหนีบ )
เช็ดคราบเลือดจากตัวทารกโดยใช้ผ้าแห้งสะอาด
อุ้มทารกให้มารดาดูเพศหน้า (Identify) และ Bonding