Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
การประเมินภาวะสุขภาพอนามัยชุมชน (community assessment)
การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
การบรรณาธิกรข้อมูลหรือการตรวจสอบข้อมูล
การแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูล
การแจงนับข้อมูล (Tally)
การคำนวณทางสถิต
การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอแบบบทความ (Textual presentation)
การนำเสนอแบบบทความกึ่งตาราง (Semi-tabular presentation)
การนำเสนอข้อมูลแบบตาราง (Tabular presentation)
การนำเสนอด้วยกราฟ (Graphic presentation)
การนำเสนอด้วยแผนภูมิ (Chart presentation)
การประเมินภาวะสุขภาพอนามัยชุมชน (community assessment)
ชนิดของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวม
ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย
แหล่งข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งปฐมภูมิ
แหล่งทุติยภูมิ
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การใช้แบบสอบถาม
การทดสอบ
การตรวจชนิดต่างๆ
การสังเกตและสัมภาษณ์จากผู้นำหรือผู้รู้ในชุมชน
การทำแผนที่ชุมชน
้เครื่องมือ 7 ชิ้น
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Problem Identification)
แนวคิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
ปัญหาอนามัยชุมชน
การเจ็บป่วย,ตาย,พิการ,ไม่สบาย
สภาวะ (Condition)
ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
กำหนดดัชนีที่จะใช้ประเมินปัญหาอนามัยชุมชน
กลุ่มดัชนีชีพ
ดัชนีกลุ่มปัจจัยเสี่ยง
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
วินิจฉัยปัญหาโดยนำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ตามดัชนีที่เลือก
วินิจฉัยปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
ข้อมูลในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
อุบัติการณ์ของโรค
ความชุกของโรค
ความรุนแรงของโรค
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ
โรคนั้นป้องกันได
โรคนั้นรักษาให้หายได้
ขั้นตอนในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ความร่วมมือของชุมชน
ความเสียหายในอนาคต
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Problem Analysis)
การวินิจฉัยสาเหตุและแนวทางในการแก้ปัญหา
โยงใยสาเหตุของปัญหา (Web of Causation)
การสร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมอนามัย (KAP Survey)
การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
ประเภทของแผน
แผนระยะยาว
แผนระยะกลาง
แผนระยะสั้น
การเขียนแผนงานและโครงการ
องค์ประกอบในการเขียนโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
หลักการและเหตุผล
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
วัตถุประสงค์
ชื่อโครงการ
เป้าหมายดำเนินงาน/ตัวชี้วัด
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
สถานที่ดำเนินงาน
วิธีดำเนินการ
งบประมาณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ข้อพึงระวังในการเขียนโครงการ
การใช้ภาษาในการเขียนโครงการ อ่านได้เข้าใจง่ายและ มองเห็นผลสำเร็จและประโยชน์ของโครงการได้ชัดเจนซึ่งทักษะการใช้ภาษาที่จำเป็นประกอบด้วย การใช้ภาษาที่ ชัดเจนในการสื่อสารความหมาย รัดกุม สมเหตุสมผล เป็นทางการได้มาตรฐาน ไม่ควรใช้ภาษาพูด คำย่อ คำแสลง คำ ต้องห้ามอื่นๆ ใช้ประโยชน์สั้นๆสื่อความหมายตรง ไม่อ้อมค้อมหรือกำกวม เขียนแบบเรียบง่ายสุภาพ จริงจัง ชัดเจน และมีการ เนื้อหาทุกขั้นตอนอย่างเป็นระเบียบ
การประเมินผลการดำเนินงานอนามัยชุมชน (community evaluation)
ความหมายและลักษณะของการประเมินผล
การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลก่อนการปฏิบัติงาน (Pre – evaluation)
การประเมินผลในระหว่างการปฏิบัติงาน (On – going evaluation
การประเมินผลหลังการปฏิบัติงาน (End – of – project evaluation)
ชนิดของการประเมินผล
ประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประเมินประสิทธิผล (Effectiveness)
ประเมินความก้าวหน้า (Progress)
ประเมินผลกระทบ (Impact)
ประเมินความเหมาะสม (Adequacy)
ขั้นตอนการประเมินโครงการ
กำหนดรูปแบบและวิธีการประเมิน
สร้างเครื่องมือในการประเมิน
กำหนดจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการประเมิน
การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์
จัดทำรายงานและนำเสนอผลการประเมิน
การปฏิบัติตามแผนงานอนามัยชุมชน (community implementation)
ขั้นดำเนินการ
ติดตาม นิเทศและควบคุมงานตามสายงาน
ทำ Gantt's Chart
แก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนโดยปฏิบัติกิจกรรม
ฃที่กำหนดหมายตามขั้นตอน และปรับให้เหมาะสม
ขั้นเตรียมการ
การเตรียมผู้รับบริการ ผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย
การเตรียมทรัพยากร/อุปกรณ์
การเตรียมตัวพยาบาลอนามัยชุมชน