Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหายใจ
1.การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)
2.การบกพร่องในการซึมผ่าน (Diffustion defect or impairment)
3.ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือด (Ventilation-perfustion mismatch)
4.เลือดไหลทางลัด (Shunt effect)
การแปลผล
1.ดูที่ค่า pH ปกติคือ 7.35-7.45 ถ้า pH < 7.35 acidosis
pH > 7.45 alkalosis
2.ดูที่ค่า PaCO2 ค่าปกติอยู่ในช่วง 35-45 mmHg ถ้า PaCO2 <35 mmHg เรียกว่า Alveolar hyperventilaton PaCO2 >45 mmHg เรียกว่า Alveolar hypoventilation
ดูที่ค่าPaO2 ค่าปกติของPaO2 อยู่ในช่วง80-100mmHg
ดูที่ค่าHCO3และbase excess(BE)HCO3 22-26mEq/Lค่าBE+ 2.5 mEq/L
ดูที่ค่าoxygen saturationค่าปกติ 97-100%
Respiratory Acidosis
PaCO2 > 45 mmHg >>>Hypoventilation
การหายใจการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออก ลดลง
ซึม เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลงหมดสติ
การรักษา
ขจัดสาเหตุ
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วย หายใจ
ให้การรกัษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรค ปอดอกัเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ใน โรคหอบหืด
ให้โซเดียมไบคารบ์อเนต
Respiratory Alkalosis
PaCO2 < 35mmHg >>>Hyperventilation
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
ซึม สบัสน หายใจเรว็ลึกหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
การรักษา
1.ปรับลด Tidal volume,RR
2.ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
4.ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis
HCO3 < 22 mEq
• ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้ • ท้องร่วงรุนแรง • ไตวาย • เบาหวานที่ขาดอินซูลิน • กรดแลคติกคั่ง จากออกก าลังกายหักโหม
ปวดศีรษะ สบัสน อาเจียน ท้องเดิน หายใจหอบลึก เป็นตะคริวที่ท้องชาปลาย มือ ปลายเท้า
การรักษา
ให้ โซเดียมไบคารบ์อเนต
Hemodialysis
Metabolic Alkalosis
HCO3 > 26mEq
อาเจียนรุนแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
สับสนไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ) คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน
การรักษา - ให ้Hcl acid ทางหลอดเลอืดดำ
The Severity of Hypoxemia
Normal PaO2 = 80 – 100 mmHg
Mild Hypoxemia PaO2 = 60 – 80 mmHg
Moderate Hypoxemia PaO2 = 40 – 60 mmHg
Severe Hypoxemia PaO2 < 40 mmHg
Respiratory Failure
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนใน เลือดแดง
PaO2ต ่ากว่า 50 mmHgความดนัคารบ์อนไดออกไซดใ์นเลือดแดง PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
Pa O2= 104 –0.27 (age)
Caused
Decreased Fi O2
Hypoventilation
V/Q mismatch
Diffusion defect
ชนิดของการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ชนิดที่ 2 Ventilatory failure
ชนิดที่ 1 Oxygenation failure
แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดปัญหา
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
2.การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่าย สับสนการ รับรู้ลดลง ระยะรนุแรงซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก ชักทั้งตวัได้
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ถ้ารุนแรงมากอาจเกิด Cheyne –Stokes breathing หรือ apnea
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การเต้นของหัวใจ เร็วขึ้น เมื่อรนุแรงหัวใจจะบีบตัวลดลง เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลงสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น เลือดหนืดมากขึ้น หัวใจซีกขวาล้มเหลวเฉียบพลัน
ระบบผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็น ระยะขาดรุนแรง จะมีอาการตัวเขียว เมื่อ PO2<40mmHg หรือ O2Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระยะแรกกระตุ้น Central chemoreceptor ทำให้เพิ่มการ หายใจ ถ้าคั่งน้อยจะมีอารมณ์ดี มักจะตื่นกลางคืน มีสับสนและง่วงนอนในตอนกลางวัน ระยะที่คั่งมาก จะกดการหายใจ เริ่มซึมง่วงนอน สับสน ไม่มีสมาธิ ถ้าCO2สูงขึ้นจนถึง 3 เท่าของระดับปกติ อาจ Coma โดยรูม่านตาหดเล็ก reflex ลด
ระบบหลอดเลือด
CO2 ทำให้ arteriolar dilatation ผิวหนังหนา แดง และ อุ่น ชีพจรเต้นแรง ความดันโลหิตสูงหลอดเลือดใน สมองขยายทา ให้ปวดศีรษะมากเวลากลางคืน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว กดการบีบตัวของ กล้ามเนื้อหัวใจเกิด arrhythmia ความดันโลหิต ลดลงและมีอาการเขียว
อื่นๆ
มีอาการสั่น กล้ามเนื้อกระตุก อาจตรวจพบ flapping tremor เหงื่อออกมากในเวลากลางคืนหลังอาหารหรือ หลังจากออกกำลังกาย
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma)
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลม ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือ สิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
1.สารก่อภูมิแพ้
:
ภายในอาคาร
ได้แก่ ไรฝุ่น แมลงสาบ สัตว์เลี้ยง สปอร์เชื้อรา :
ภายนอกอาคาร
ได้แก่ เกสรหญ้า วัชพืช สปอร์เชื้อรา
2.สารระคายเคือง
ได้แก่ น้ำหอม กลิ่น สี ทินเนอร์ น้ำยา หรือสารเคมี ละอองยาฆ่าแมลง ฝุ่นก่อสร้าง ฝุ่นหินฝุ่นดิน ควันบุหรี่ ควันธูป ควันท่อไอเสีย
3.ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID
,beta –blocker
4.การติดเชื้อไวรสัของทางเดินหายใจส่วนต้น
5.สาเหตุอื่นๆ
เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
การวินิจฉัย
3.พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
เกิดอาการหลังออกก าลังกาย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
เป้าหมายของการรักษา
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากยารักษาโรคให้น้อยที่สด
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับ สมรรถภาพการทำงานของปอด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
1.สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
อาจเกิดจาก
1.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง(chronic bronchitis)
โรคถุงลมโป่งพอง (pulmonary emphysema)
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย
เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม
มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ
ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
-ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์และการหายใจเร็ว -ไอมีเสมหะเรื้อรัง - เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม -เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
2. ตรวจภาพรังสีทรวงอก
หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
3. การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด
พบค่าFEV1ต่ำกว่าปกติ
4.การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง
พบค่า PaCO2 สูงขึน
ระดับความรุนแรงของการอุดกั้นหลอดลม
GOLD1 Mild
FEV1 ≥80% predicted
GOLD2 Moderate
50% ≤FEV1< 80%predicted
GOLD3 Severe
30% ≤FEV1< 50%predicted
GOLD4 Very severe
FEV1< 30%predicted
การวินิจฉัย
ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
การขยายของทรวงอก
มีเสมหะในหลอดลม
มีการทำลายเนื้อปอด
เป้าหมายของการรักษา
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
การรักษาทางยา
1.2. Methylxanthine
1.3 Corticosteroid
1.1 bronchodilator
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
2.1ออกกำลังกาย
-แบบแอโรบิค ฝึกกล้ามเนื้อ
-การหายใจแบบ Pursed –lip
3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
6.แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
7.การหยุดบุหรี่
โรคปอดอักเสบ (Bronchitis)
สาเหตุ
1.ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
3.เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยง
1.ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
ประเภท
Hospital–acquired pneumonia (HAP)
Ventilator associated pneumonia (VAP)
Community–acquired pneumonia (CAP)
Healthcare associated pneumonia (HCAP)
การวินิจฉัย
ไข้สูง (39-40 ºซ.) หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า
หายใจตื้นแต่ถี่ ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ
อาจมีเริมขึ้นที่ริมฝีปาก ปอดอาจเคาะทึบ (dullness)
เสียงหายใจค่อย (diminished breath sound)
มีเสียงกรอบแกรบ (crepitation) ซึ่งมักจะได้ยินตรงใต้สะบักทั้ง 2 ข้าง
การรักษา
1.เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
2.ให้ยาปฏิชีวนะ
3.ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
4.ดูแลความสมดุลของสารน้ำอิเล็คโตรลัยท์
5.ให้อากหารโปรตีนสูง
6.ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
7.ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการอพร่กระจายของเชื้อ
โรคแทรกซ้อน
1.ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
2.เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
4.มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะ อื่นๆ ได้แก่ ไต เยื่อบุช่องท้อง เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง ข้ออักเสบ
5.หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
6.ช็อคจากการติดเชื้อ
7.ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
8.เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
Pulmonary embolism
สาเหตุ
Venous stasis อาจเกิดหลังผ่าตัดที่ต้องนอนนาน ๆ
Vessel injury
Hypercoagulability
กรรมพันธุ์ : ขาด antithrombin Plasminogen Protein c
ความอ้วน การใส่สายสวนในหลอดเลือดดำส่วนกลาง ใส่อุปกรณ์ที่ต้องอยู่นิ่ง
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance
Vasoconstrict
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Atelectasis alveolar dead space
แนวทางการวินิจฉัยและการตรวจห้องปฏิบัติการ
หายใจหอบเหนื่อยอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก บางรายหน้ามืด เป็นลม หรือหมดสติ
ตรวจร่างกายพบ หายใจเร็ว มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หัวใจเต้นเร็วและหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ถ้าอุดตันหลอดเลือดขนาดใหญ่ ผู้ป่วย จะตัวเย็น มีความดันโลหิตต่ำ ช็อก ร่วมกับมีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
ABG พบภาวะ Hypoxemia
D-dimer , Troponin I หรือ T สูงกว่าปกติ
การรักษา
การให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolysis) ได่แก่ streptokinase rt-PA
การให้ยาต้านลิ่มเลือด (anticoagulants)
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก (Surgical embolectomy)
Adult Respiratory Distress Syndrome
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ปอด
การสูดดมสารพิษ
บาดเจ็บที่ปอด พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
จมน้ำ
ปอดอักเสบ ติดเชื้อ
Embolism
ควาามผิดปกติที่อวัยวะอื่นแล้วส่งผลมาที่ปอด
Shock จาก Sepsis หรือเสียเลือด
ได้รับเลือดปริมาณมาก
Pancreatitis
Over drug
DIC
การพยาบผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ Ventilator
ข้อบ่งใช้
2.การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
3.ประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งลดลงง
1.การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
4.เพื่อลด work of breathing
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
จำแนกตามวิธีของ Mapleson
1.Pressure cycled ventilator ควบคุมด้วยความดันลม
2.Volume cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรลม
3.Time cycled ventilator ควบคุมด้วยเวลาการหายใจเข้า
4.Flow cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรการไหลของลม
Breath type
Assited เป็นการหายใจที่ผู้ป่วยกระตุ้นให้เครื่องทำงาน
Supported ผู้ป่วยกำหนดการหายใจเอง
Mendatory เป็นการหายใจที่ควบคุมด้วยเครืาองทั้งหมด
Supportaneous เป็นการหายใจของผู้ป่วยทั้งหมด
วิธีการหายใจ
4.Pressure support ventilation เครื่องจะให้ flow จนถึงระดับ pressure ที่ตั้งไว้ผู็ป่วยเป็นคนกำหนดเอง
5.Positive end expiratory pressure
3.Synchonized intermittent mandatory ventilation (SIMV) ใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการการช่วยหายใจบางส่วน
6.Continuous positive airway pressure เป็น spontaneous breath ทั้งหมด
2.Assisted control ventilation เป็นการช่วยหายใจแบบที่เครื่องช่วยหายใจถูกกระตุ้นโดยการหายใจของผู้ป่วยบางส่วนหรือทั้งหมด
1.Control mechanical ventilation เป็นวิธีการช่วยหายใจที่เครื่องจะทำงานแทนผู้ป่วยทั้งหมด
ความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
3.ระบบการเตือนความผิดปกติ
4.การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
2.ความผิดปกติของการทำงาน
5.ระบบความชุ่มชื้น
1.ระบบการต่อของเครื่อง
ข้อบ่งใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ
ผู้ป่วยการหายใจล้มเหลวที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันการสำลักอาหารในกระเพาะอาหาร
ป้องกันหรือแก้ไขภาวะ upper airway obstruction
ดูดเสมหะในหลอดลม
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.Clinical factors
Hemodynamic stability
Absence of septicemia
Cause of respiratory failure resolved or resolving
Absence of severe acid-base and electrolytes imbalance
2.Pulmonary gas exchange
pao2 > 60 with Fio2< 0.4
paCO2 < 45 mmHg
PEEP < 5 cmH2o
Absence of lactic acidosis
Pulmonary mechanics
VC 10-15 ml/kg, MIP > 30 cmH2o
MV 5-10 L/min
VT >5ml/kg
F/VT < 105
4.ความพร้อมทางด้านจิตใจ
5.ระดับความรู้สึกตัวดี
6.ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
7.ใช้ยานอนหลับ หรือยาแก้ปวดลดลง
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
1.Conventional T-pice method
1.1 single T-pice trice
1.2 Intrmittent T-pice trice
2.Intermittent mandatory ventilation
3.Pressure support ventilation
4.Continous positive airway pressure
ภาวะที่บ่งบอกว่าควรหย่าเครื่องช่วยหายใจ
5.EKG มี arrhythmia
6.Skin มีเหงื่อออกมาก
4.O2 saturation <90%
7.ABG, pH<7.35 จากกการคั่งของ CO2
3.ระดับความรู้สึกตัวที่เปลี่ยนไป
8.อาการแสดงออกว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรงคือการใช้กล้ามเนื้อช้วยในการหายใจ (accessory muscle) หรือการหายใจแบบ paradoxical
2.ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มหรือลดลง มากกว่า 20 ครั้ง/นาที
9.ผู้ป่วยบ่นเจ็บหนาอก อ่อนเพลีย หรือหายใจลำบาก
1.ความดันโลหิตเพิ่มหรือลดจากเดิม มากกว่า 20 mmHg
ภาวะเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด (Hemothorax)
เกิดจากการถูกของมีคมทิ่มแทงทะลุผ่านเข้าไปทางทรวงอกหรือกระดูกซี่โครงที่หักทิ่มแทง
ทำให้ขัดขวางการขยายตัวของปอด มีผลต่อระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตเช่นเดียวกับภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด และเกิดภาวะ hypovolemic shock ได้
minimal hemothorax; 250-350 ml. เลือดจะถูกดูดกลับโดยเยื่อหุ้มปอดภายใน 10-14 วัน
moderate hemothorax; 350-1,500 ml. มีอาการแน่นหน้าอก หายใจลำบาก และอาการของการเสียเลือด
massive hemothorax; > 1,500 ml./hr. หรือชั่วโมงถัดมาออก > 400 ml. หรือ 2-3 ชั่วโมงต่อมาออกมากกว่า 200-300 ml.
สาเหตุ
2.Intercostal chest injury
3.Blunt chest injury
1.Penetrating chest injury
4.Decelerrating injury
การวินิจฉัย
อาการ แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม ถ้ามีเลือดมากเงาทึบอาจจะบังปอดข้างนั้นไว้หมด ถ้าใช้เข็มเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
การดูแลเบื้องต้น
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและ
จากการที่มีลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
สาเหตุ
โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอด ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับปอดอักเสบ
2.มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด
โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง
โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ
โรคตับแข็ง
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี
โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิดร่วมกับฝีบิดในตับ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นต้น
การวินิจฉัย
ประวัติ การเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุ
การตรวจร่างกาย ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง
ได้ยินเสียง pleural friction rub
อาจพบหลอดลมคอเอียง
การรักษา
1.เจาะของเหลวออก
2.รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
การระบายทรวงอก
การระบายลมหรือการสิ่งที่่เป็นของเหลว
ข้อบ่งชี้
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
มีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด (Hemothorax)
มีลมและมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumohemothorax)
มีหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด(Empyema)
มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion)
สำหรับใส่ยาเข้าไปทางท่อระบายทรวงอก
หลังผ่าตัดหัวใจและทรวงอก เพื่อระบายน้ำและเลือดจากรอบแผลผ่าตัด
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ และใส่ PEEP แล้วมี subcutaneous emphysema
วัตถุประสงค์
เพื่อระบายอากาศและสารเหลว เช่น หนอง เลือด หรืออากาศออกจากเยื่อหุ้มปอด
เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีภายหลังการผ่าตัดปอด หรือได้รับบาดเจ็บทรวงอก
เพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นมาบรรจบกัน
ป้องกันเมดิแอสตินัมเคลื่อนตัวไปหรือถูกกด
การระบายทรวงอก ทำให้สามารถทราบจำนวนสารเหลว หรือลมที่ออกมาจากตัวผู้ป่วย
ข้อควรระวัง
ระดับของของเหลวที่เพิ่มขึ้น จะทำให้เกิด
ความดันเป็นลบสูงขึ้น
และส่งผลให้การระบายอากาศหรือของเหลวไม่ดี
ความดันลบ
ที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับความสูงของน้ำในฟลอดแก้วที่สูงจากระดับน้ำภายในขวด
ต้องเปลี่ยนขวด
เมื่อระดับของเหลวในขวดสูงกว่าปลายหลอดแก้วประมาณ4-5ซม.
เพราะจะทำให้เกิดความดันเป็นลบสูงขึ้น