Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคข้อเข่าเสื่อม osteoarthritis, image, image, image, นางสาวณัฐธิดาบางทรา…
โรคข้อเข่าเสื่อม
osteoarthritis
กลไกการเกิด
articular cartilage ถูกทำลาย และ synovial fluid ลดลง เกิดการเสียดสีกันของกระดูกชั้น subchondral bone
จึงหนาตัวขึ้น งอกยื่นออกด้านข้าง เรียกว่า osteophyte ปุ่มกระดูกใหญ่ขึ้น จะแตกออกเป็นชิ้นเล็กๆ แทรกเข้าไปอยู่ใน synovial carvity เกิดการระคายเคือง อับเสบ บวม
อาการและอาการแสดง
1.ปวดแบบตื้อๆ ระบุบริเวณปวดไม่ได้
ดีขึ้นเมื่อพัก
2.ข้อฝืด Stiffness มักพบตอนเช้า
3.ข้อบวมผิดรูป (Swelling and defomity)
4.มีเสียงกรอบแกรบ (Crepitus)
การพยาบาล
1.ยาแก้ปวด แนะนำให้รับประทานหลังอาหารทันที (ยกเว้น พาราเซตามอล) สังเกตการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร
2.แนะนำออกกำลังกาย
เพิ่มความแข็งแรงทนทาน
1.นอนหงาย เอาหมอนเล็กๆ หรือม้วนผ้าขนหนูวางใต้เข่า เกร็งสะบ้าเหยียดเข่าตึง ค้างไว้ นับ 1-10 แล้ว
สลับไปทำอีกข้างหนึ่ง 5-10 ครั้ง ทำวันละ 2-4 รอบท่านี้เป็นท่าพื้นฐาน ทำได้ง่าย
2.นั่ง และยกขาวางพาดบนเก้าอี้หรือโซฟา พยายามเหยียดเข่าตรง โดยการเกร็งลูกสะบ้า นับ 1-10เท่าที่ทำได้ การบริหารท่านี้เหมาะสาหรับผู้ที่ยังมีอาการปวดเข่า ในรายที่มีปัญหาข้อเหยียดไม่สุด ให้ใช้ถุงทรายถ่วงที่ข้อเข่า
3.นั่งพิงพนักชิดเก้าอี้เหยียดเข่าตรง พร้อมกระดกข้อเท้าขึ้น เกร็งค้างนับ 1-10 หรือเท่าที่ทำได้ แล้วเอา
ลง นับเป็น 1 ครั้ง ทาซ้า 5-10 ครั้ง แล้วสลับไปทาอีกข้างหนึ่งทาวันละ 2-4 รอบ
บริหาร aerobic exercise
-ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เดิน รำมวยจีน
ข้อควรระวัง ข้ออักเสบเฉียบพลันควรงด ขณะออกกำลังกายถ้าปวดให้หยุดและปรึกษาแพทย์
3.การลดน้ำหนัก
1.แนะนำให้ลดอาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล ไขมัน
2.แนะนำรับประทานเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อไก่ เป็ด หมู ปลา วันละไม่เกิน 250 – 300 กรัม/วัน
3.แนะนำรับประทานผัก ผลไม้และดื่มน้ำมากๆ ควรดื่มวันละ 8- 10 แก้ว
4.แนะนำให้ไม่รับประทานจุกจิก แสวงหาอาหารที่ชอบมารับประทาน
นางสาวณัฐธิดาบางทราย เลขที่25 ห้องB