Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
การเจรจาต่อรองเป็นทั้งศาสตร์และศิลป เป็นกระบวนการที่ใช้ในการจัดการหรือลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น หรือหาข้อตกลงที๋เป็นที๋พอใจของทั้ง2ฝ่าย โดยปกติทั่วไปมีใช้ในชีวิตประจําวันของคนเราทุกคนอยู่แล้ว
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
กระบวนการที่บุคคลระหว่าง ๒ คน หรือมากกว่าขึ้นไป มีการติดต่อ สื่อสารกลับไปกลับมาเพื่อหารือความต้องการ หรือผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันหรือบรรลุความต้องการและเป็นที่พอใจของทั้ง ๒ ฝ่าย
กระบวนการเจรจาต่อรอง
(The negotiation process)
๕ ขันจบการเจรจาและนําไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)
ขั้นตอนสุดท้ายของการเจรจาต่อรอง การได้ข้อตกลงอย่างเปนทางการซึ่งจะต้องดำเนินการในรายละเอียดและจัดทำขั้นตอนสู่การปฏิบัติต่อไป
๑ ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
ขั้นตอนแรก ก่อนที่จะมีการเจรจาท่านต้องมีข้อมูล โดยต้องเตรียมการกําหนดว่าข้อขัดแย้งที่จะเจรจามีลักษณะอย่างไร มีความเป็นมาอย่างไรบ้าง มีอะไรทีเกี่ยวข้องบ้าง สิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมดมีอะไร เป็นอย่างไรบ้าง ความต้องการของท่านในการที่จะเจรจาครั้งนี้
ควรใช้หลัก BATNA (Best alternative to a negotiation agreement) หรือ ทางเลือกที่ดีที่สุดที่เป็นข้อตกลงของการเจรจาต่อรอง
๒ ขั้นกําหนดกฎกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
ก่อนเริ่มการเจรจาต่อรองควรมีการกำหนดกฎกติกาพื้นฐาน และขั้นตอนระหว่างการเจรจาให้เป็นที่เข้าใจตรงกันก่อนว่าการเจรจาจะดําเนินอย่างไร ใครเป็นผู้เจรจาต่อรอง จะดําเนินการที่ไหน เวลาเท่าใดและควรจะเลิกในเวลาเท่าใด ประเด็นทีจะเจรจากันเป็นประเด็นใด ถ้าตกลงกันไม่ได้จะทำอย่างไร ควรให้ทังสองฝุายทําความเข้าใจกัน
๓ ขั้นทําความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน
(clarification and justification)
อธิบายทําความเข้าใจให้ชัดเจนในประเด็นที่แต่ละฝ่ายต้องการ และหาเหตุผลสนับสนุนจุดยืนของตน ไม่ใช่เป็นการเผชิญหน้ากัน แต่เป็นโอกาสที่แต่ละฝ่ายจะได้เรียนรู้ความต้องการหรือศึกษาแต่ละฝ่ายว่ามี
ความต้องการ ประเด็นสำคัญในการเจรจามีเหตุผลสนับสนุนเปนอย่างไรบ้าง
๔ ขั้นการต่อรองและแก้ปญหา
( bargaining and problem solving)
การเจรจาเพื่อให้ได้ตามความต้องการ ควรมีทั้งการให้และการรับ
(Give and take) เพื่อให้ได้ข้อยุติ ทั้งสองฝุายต้องมีการ ผ่อนปรนซึ่งกันและกันต้องใช้ทักษะในการเจรจาอย่างมาก
การตัดสินใจ (Decision making)
การตัดสินใจ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล บนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ เพื่อเลือกทางเลือกซึ่งมีอยู่หลายแนวทางที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ความสําคัญของการตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็นเครื่องชี้วัดความสามารถ คุณภาพและประสิทธิภาพของผู้นำ เพราะการตัดสินใจมีผลต่อความอยู่รอดและความสำเร็จของหน่วยงาน
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
๑ การต่อรองแบบนุ่ม หมายความว่าผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น
ข้อดี คือ สามารถส่งเสริมและรักษาสัมพันธ์ภาพของทั้ง ๒ ฝ่ายไว้ได้ และเรื่องสามารถลงเอยได้ด้วยดี
ข้อเสีย การต่อรองอาจทำให้เสียเปรียบและถูกครอบงำโดยคู่เจรจาที่ใช้การต่อรองแบบแข็ง
๒. การต่อรองแบบแข็ง หมายความว่า ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่คํานึงถึงข้อเจรจาของฝ่ายตรงข้ามมองคู่เจรจาเป็นศัตรู
ข้อดี คือ ข้อตกลงอาจยุติโดยที่ตนเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
ข้อเสีย ทําให้เสียสัมพันธ์ภาพ อาจเกิดการทะเลาะ ปะทะกัน
หัวใจสําคัญในการเจรจาต่อรอง
๓ ความสนใจ เน้นเรื่องผลประโยชน์มากกว่าใครแพ้ ใครชนะ เพราะจุดประสงค์ทีแท้จริงคือ ผลประโยชน์ร่วมกัน ไม่ใช่กลัวเสียหน้า หรือถูกดูหมิน จึงจะเกิดข้อตกลงสำหรับทุกฝ่ายได้
๔ ทางเลือก พยายามหาทางออกหรือทางเลือกอื่น ๆ ก่อนที่จะตัดสินใจสุดท้าย ทางเลือกควรเป็นชนิด win – win solution คือ แบบ ชนะ – ชนะเป็นผู้ชนะทั้งคู่ ได้ประโยชน์ทั้งคู่
๒ บุคคล แยกออกจากปญหา หลักการแรกจากเหตุผลทีว่า คนมีชีวิตจิตใจ จึงมีอารมณ์เข้ามาเกียวข้องเสมอเมือมีการติดต่อสื่อสารกัน
๕ เกณฑ์ ต้องตกลงกันตามกฏเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย โดยข้อตกลงนี้จะเกิดจากการยอมรับของทุกฝ่ายมิใช่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเท่านั้น
๑ เริ่มต้นด้วยการเปิดฉากเชิงบวก
(Begin with a positive overture)
ขอบเขตในการตัดสินใจ
๑ การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตตามระเบียบข้อบังคับ และกฎหมาย
๒ การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตทางสังคม เป็นการอาศัยหลักทางคุณธรรม จริยธรรม ระบบค่านิยมและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี