Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพ เกี่ยวกับความผิดปกต…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพ
เกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรวิทยาของระบบหายใจ
1.การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)
การบกพร่องในการซึมผ่าน(Diffusion defect or impairment)
ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือด
text
4.เลือดไหลทางลัด (Shunt effect)
ขจัดสาเหตุ
1.การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน การรักษา และยาที่ได้รับ
ประวัติการผ่าตัด ปัจจัยเสี่ยงให้เกิดการหายใจล้มเหลว
อาการไอ เช่น ระยะเวลาของการไอ ลักษณะการไอ ลักษณะเสมหะ เป็นต้น
อาการร่วมอื่น ๆ เช่น เจ็บหน้าอก ไข้ เสียงแหบ เจ็บคอ หายใจหอบ เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
ระบบหายใจ เช่น การหายใจหอบเร็ว ลำบาก ไม่สม่ำเสมอ ต้องใช้แรงในการหายใจมาก ฟังเสียงปอดพบเสียผิดปกติ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบประสาท มีอาการกระสับกระส่าย หงุดหงิด ปวดศีรษะ สับสน ไม่รู้สึกตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ Arterial Blood Gas Analysis
Assess the ventilatory status, oxygenation and acid base status
Assess the response to an intervention
Blood Gas Analysis
ใบรายงานผล blood gas จะแสดงข้อมูลที่
ได้แก่
pH ภาวะความเป็นกรดด่าง
PO2 Partial pressure of oxygen in blood
PCO2 Partial pressure of carbon dioxide in blood
HCO3- ความเข้มข้นของไบคาร์บอเนตในพลาสมา
BE ปริมาณ Base excess ในร่างกาย
SO2 ระดับความอิ่มตัวของฮีโมโกลบินในเลือด
CO2 ปริมาณ CO2 ที่ละลายอยู่ในพลาสมา
การแปลผล
ดูที่ค่า pH ค่า pH ปกติ คือ 7.35 -7.45 ถ้า
pH < 7.35 เรียกว่า acidosis
pH > 7.45 เรียกว่า alkalosis
ดูที่ค่า PaCO2 ค่าปกติ PaCO2 อยู่ในช่วง 35-45 mmHg ถ้า
PaCO2<35 mmHg เรียกว่า alveolar hyperventilation PaCO2>45mmHg เรียกว่า alveolar hypoventilation
ดูที่ค่า PaO2 ค่าปกติของ PaO2 อยู่ในช่วง 80-100 mmHg
ดูที่ค่าHCO3และ base excess (BE) HCO3 22-26 mEq/L ค่า BE + 2.5 mEq/L
ดูที่ค่า oxygen saturation ค่าปกติ 97-100%
การรักษา Respiratory Acidosis
ขจัดสาเหตุ
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
ให้การรักษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ในโรคหอบหืด
ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
Metabolic Alkalosis
สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ) คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน
ได้รับยาขับปัสสาวะมาก
HCO3 > 26 mEq
อาเจียนรุนแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3-
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Respiratory Alkalosis
PaCO2 < 35 mmHg
ซึม สับสน หายใจเร็วลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
ปรับลด Tidal volume , RR
การรักษา Respiratory Alkalosis
ปรับลด Tidal volume , RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
Metabolic Acidosis
ท้องร่วงรุนแรง
HCO3 < 22 mEq
ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
ไตวาย
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
การตรวจพิเศษ
การส่องกล้องตรวจดูหลอดลมคอ (bronchoscopy)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ CBC
การตรวจอิเลคโตรลัยท์
การวัด oxygen saturation (SpO2)
การรักษา Respiratory Acidosis
ขจัดสาเหตุ
ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนในเลือดแดง
PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg ความดัน
Pa O2 = 104 –0.27 (age)
ชนิดของการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ชนิดที่ 1 Oxygenation failure
ชนิดที่ 2 Ventilatory failure
นอกจากนี้อาจแบ่งตามระยะเวลาที่เกิดปัญหา ได้แก่
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
ชนิดของการหายใจล้มเหลว
Respiratory Failure
Lung Failure
Oxygenation failure
มีภาวะHypoxemia,PaO2≤ 60mmHg
Gas exchange failure
“hypoxemia”
Pump Failure
Ventilatory failure
มีภาวะHypoxemia,PaO2 ≤ 45 mmHg และ pH<7.35
“hypercapnia”
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่ายสับสน การรับรู้ลดลง
ระบบผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็น
ระยะขาดรุนแรง จะมีอาการตัวเขียว
เมื่อ PO2<40mmHg หรือ O2 Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
อาการแสดงของภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระยะแรกกระตุ้น Central chemoreceptor ทำให้เพิ่มการหายใจ ถ้าคั่งน้อยจะมีอารมณ์ดี มักจะตื่นกลางคืน มีสับสนและง่วงนอนในตอนกลางวัน
ระยะที่คั่งมาก จะกดการหายใจ เริ่มซึมง่วงนอน
ระบบหลอดเลือด
CO2 ทำให้ arteriolar dilatation ผิวหนังหนา แดง และอุ่น ชีพจรเต้นแรง ความดันโลหิตสูง หลอด
เลือดในสมองขยายทำให้ปวดศีรษะมากเวลากลางคืน
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma)
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนอต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
ง
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย
อาจไม่พบความผิดปกติขณะไม่มีอาการ
ขณะมีอาการจะพบอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น หายใจลำบาก หายใจออกยาวกว่าปกติ หรือหอบได้ยินสียงหวีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด ก่อนและหลังให้ยาขยายหลอดลม
การวัดค่าความผันผวนของ PEF ในแต่ละช่วงเวลา ประมาณ 1-2 สัปดาห์
สูตร ค่าความผันผวนของ PEF = (PEF สูงสุด – PEF ต่ำสุด)*100
เป้าหมายของการรักษา
สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
Asthma medications
Controllers
taken daily on a long-term basis
to keep asthma under clinical control
Relievers
taken as-needed basis
act quickly to reverse bronchoconstriction and relieve asthma symptoms
Asthma Relievers
Short-acting 2agonists (SABA): inhaled / oral
Inhaled anticholinergics: (combination with salbutamol or fenoteral)
Short-acting theophylline
การควบคุมโรคหืด
1.การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
2.แนะนำวิธีการหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งที่แพ้และอาการหอบหืดอย่างเป็นรูปธรรม คือสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ รวมทั้งการปฏิบัติตัว
ควรออกกำลังกายและผ่อนคลายความเครียด แนะนำการฝึกหายใจแบบ Purse lip
5.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน
6.การจัดระบบให้มีการดูแลรักษาต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
4.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
การแปลผล
25 คะแนน ควบคุมอาการได้สมบูรณ์
21-24 คะแนน ควบคุมอาการได้ไม่สมบูรณ์
ต่ำกว่า 20 คะแนนลงมา ควบคุมอาการไม่ได้
(Chronic Obstructive Pulmonary Disease)
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
การวินิจฉัย
มีเสมหะในหลอดลม
ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
การขยายของทรวงอก
มีการทำลายเนื้อปอด
เป้าหมายของการรักษา
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
การรักษาทางยา
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
6.แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
7.การหยุดบุหรี่
หลัก 5 A ในการเลิกบุหรี่
assist การช่วยเหลือ ในการ เลิกบุหรี่ มีการช่วยเหลือผู้ป่วยในการเลิกบุหรี่ โดยให้คำปรึกษา หรือ ให้ยาอดบุหรี่
arrange ติดตามผู้ป่วย โดยติดตามเพื่อ ช่วยเหลือ ในการ เลิกบุหรี่ และ ประเมินผลการเลิกบุหรี่ ในผู้ป่วย
assess ประเมินการติดบุหรี่ โดยมีการประเมินว่า ผู้ป่วยมีการสูบบุหรี่มากน้อย แค่ไหน
ask การถามว่าสูบบุหรี่หรือไม่
advice การแนะนำ อย่างจริงจัง ให้ เลิกบุหรี่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ สังเกตอาการ cyanosis วัด O2 saturation Keep > 92% ทุก 1 ชั่วโมงและ Monitor EKG
ฟังเสียงการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา (Fowler’s position)
ดูแลให้ออกซิเจน 1 – 3 ลิตรต่อนาที (24 – 32%)
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระบบปิด ถ้าผู้ป่วยมีการหายใจไม่สัมพันธ์กับเครื่อง ให้ปลดเครื่องช่วยหายใจแล้วบีบลูกยาง (self inflating bag) ที่ต่อกับออกซิเจน 100% และรายงานแพทย์
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม โดยพ่นยา Berodual MDI ทุก 4 ชั่วโมงหรือให้ยารับประทาน
ดูแลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชั่วโมง เพื่อลดการอักเสบโดยมีฤทธิ์ทาง Glucocorticoid มากกว่า Mineralocorticoid
ยานี้เป็นทั้งยากดภูมิต้านทานและยาต้านการอักเสบและลดบวมของหลอดลม
ถ้าผู้ป่วยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้ ตามแผนการรักษาและเช็ดตัวลดไข้ เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดงอย่างสม่ำเสมอ
สารอาหาร และน้ำ เนื่องจากภาวะการหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ทำความสะอาดปากและฟัน ลดสิ่งกระตุ้นผู้ป่วยขณะรับประทานอาหาร เพราะอาจทำให้ความสนใจของผู้ป่วยลดลง
ประเมินความต้องการสารอาหารที่ควรได้รับต่อวันเพื่อวางแผนการให้สารน้ำ
ให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000 มล.
4.อาจเกิดอาการกลับซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น เพื่อให้ทราบถึงการดำเนินของโรค สาเหตุการรักษาและภาวะแทรกซ้อน
สอนวิธีการพ่นยา ดังนี้
2.1 เขย่าหลอดพ่นยา ประมาณ 5 – 10 วินาที เพื่อให้ตัวยาผสมกันได้ที่
2.2 หายใจเข้า-ออก ลึก ๆ 3-5 ครั้ง และครั้งสุดท้ายหายใจออกทางปากเต็มที่
2.3 ใช้ริมฝีปากอมรอบ Spacer
2.4 เริ่มหายใจเข้าพร้อมกับกดหลอดพ่นยา
โรคปอดอักเสบ
เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เนื้อปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
สาเหตุ
1.ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
3.เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคปอดอักเสบ
1.ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ประเภทของโรคปอดอักเสบ
Hospital–acquired peumonia (HAP)
Ventilator associated peumonia (VAP)
Community–acquired peumonia (CAP)
การรักษาโรคปอดอักเสบ
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับ
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
Pulmonary embolism
สาเหตุ
1.Venous stasis
Vessel injury
Hypercoagulability
Lung cancer
Adrenocarcinoma
Squamous cell carcinoma
Large cell carcinoma
Small cell carcinoma
Adult Respiratory Distress Syndrome
สาเหตุ
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ การสูดสำลัก
การให้สารน้ำและเลือดทดแทน
การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
ติดเชื้อที่ปอดรุนแรง ภาวะช็อค
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะ(Adult Respiratory Distress Syndrome)
ผลของการใช้ PEEP
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด(Hemothorax)
Penetrating chest injury
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Decelerating injury
การวินิจฉัย
อาการ แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม ถ้ามีเลือดมากเงาทึบอาจจะบังปอดข้างนั้นไว้หมด ถ้าใช้เข็มเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว
การรักษา
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและจากการที่มีลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
สาเหตุ
โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอด ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับปอดอักเสบ
มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด
โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง
โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ
โรคตับแข็ง
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี
โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิดร่วมกับฝีบิดในตับ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นต้น
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะมีของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด
การวินิจฉัย
ประวัติ การเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุ
การตรวจร่างกาย ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง
ได้ยินเสียง pleural friction rub
อาจพบหลอดลมคอเอียง
พยาธิสภาพ
ร่างกายมีการสร้างของเหลวในชั้นของเยื่อหุ้มปอดมากจนเกินไป จนเบียดพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอด มีอยู่ 2 ประเภท
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส (Transudative pleural effusion) มีสาเหตุเกิดจากหัวใจล้มเหลว
ไตวาย ตับแข็ง
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น มักเกิดจากการอักเสบ เช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค
มะเร็งปอด
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
วัตถุประสงค์
. เพื่อระบายอากาศและสารเหลว เช่น หนอง เลือด หรืออากาศออกจากเยื่อหุ้มปอด
เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีภายหลังการผ่าตัดปอด หรือได้รับบาดเจ็บทรวงอก
เพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นมาบรรจบกัน
ป้องกันเมดิแอสตินัมเคลื่อนตัวไปหรือถูกกด
ระบบนี้ท่อระบายทรวงอกที่ออกจากผู้ป่วยจะต้องต่อกับปลายหลอดแก้วยาวที่จุ่มใต้น้ำในขวดประมาณ 2-3 ซ
ส่วนหลอดแก้วสั้นที่ฝาจุกขวดจะเป็นหลอดระบายอากาศ ปลายนี้ให้ต่อเข้ากับเครื่องดูดที่สามารถควบคุมความดันได้
การต่อแบบขวดเดียวเหมาะสำหรับระบายลมเลือด สารเหลวอื่น ๆ ที่ปริมาณออกไม่มาก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มี
การจำกัดการขยายตัวของปอด
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้มีการระบายลม สารเหลว ได้ดี
จัดท่าศีรษะสูง
ตำแหน่งขวดต่ำกว่าทรวงอก 2-3 ฟุต
สังเกตการกระเพื่อมขึ้นลง (fluctuation) ของน้ำในหลอดแก้วยาว ให้ปลายหลอดแก้วอยู่ใต้น้ำ 2-3 ซม.
ตรวจดูระบบระบายทรวงอก เป็นระบบปิด ไม่มีรอยรั่ว
บีบรูดสายยาง ทุก 30 - 60 นาที ในระยะแรก
ควรหนีบสายยางขณะเคลื่อนย้าย
ดูแลมิให้อากาศเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอด
กระตุ้นให้ทำ Breathing exercise โดย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในช่องเยื่อหุ้มปอด
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ขวดรองรับสารเหลวต่ำกว่าท่อระบายทรวงอก
และควรเปลี่ยนขวดเมื่อปลายหลอดแก้วยาวจุ่มใต้น้ำเกิน 5 ซม.
สังเกตและบันทึกสารเหลวทุก
1 ชม หลังทำมีเลือดออก
200 ซีซี/ชม.หรือ 2 ชม.แรก
มีเลือดออก 100-300 ซีซี ควรรายงาน
แพทย์
เก็บสารเหลวส่งเพาะเชื้อ และติดตามผลตรวจ
ประเมินสัญญาณชีพ
การมีลมรั่วจากการระบายทรวงอก
เป็นฟองอากาศหรือลมปุดที่ขวดจุ่มใต้น้ำ เมื่อหายใจออก ไอ จาม เกิดหลังใส่ท่อใหม่ ๆ หลังจาก 2-3 นาทีแรก
ถ้าพบลมปุดในขวดที่ 2 สาเหตุอาจเกิดจากเป็นลมจากช่องเยื่อหุ้มปอด ซึ่งจะปุดเฉพาะช่วงหายใจออก
หากพบลมปุดตลอดเวลาแสดงว่ามีการรั่ว ตำแหน่งที่รั่ว มีดังนี้
รั่วที่ตัวผู้ป่วยหรือขวดที่ 1 จะเห็นลมปุดในขวดที่ 2 ตลอดเวลา
รั่วขวดที่ 2 น้ำในแท่งแก้วยาวที่ขวดที่ 2 ไม่กระเพื่อมตามการหายใจและขวดที่ 3 ไม่มีลมปุดเลย
รั่วขวดที่ 3 จะไม่มีลมปุดในขวดที่ 3 ต้องปลดให้ระบายแบบ 2 ขวดไปก่อน
: