Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การบริหารเวลา
๒. การวางแผน
(Planning)
๒. ยึดหลัก ๔W (The Who What Where and When) การระบุลำดับงานที่จะทำให้ชัดเจน
๓. ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ (Resources Needed) การระบุทรัพยากรทางการบริหารอัน
ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ
๔. การติดตามผล (Follow – Up Required) การพิจารณาวิธีการติดตามผลเพื่อจะได้ทราบว่างานที่กำหนดไว้
ตามแผนนั้นได้ดำเนินไปตามแผนหรือไม
๑. ลำดับงานที่จะทำ (The Sequence) พิจารณางานที่มีความสำคัญ A ทั้งหมดก่อนว่า จะทำงาน
ใดก่อนและหลัง
๕. แผนสำรอง (Contingency Plans) หมายถึง การพิจารณาเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในระหว่าง
การดำเนินตามแผนแล้วกำหนดเป็นแผนสำรองไว้
๓. การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
การปฏิบัติตามตารางการ
ทำงานที่กำหนดไว้ในแผนซึ่งผู้บริหารจะต้องรู้จักใช้คำว่า “ไม่” หรือรู้จักการปฏิเสธงานเฉพาะหน้าที่ไม่มีความจำเป็น เร่งด่วน
๑. การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
B = มีความหมายสำคัญ เช่นกัน ถ้ามีเวลาก็ควรทำ
C = ถ้าไม่ทำขณะนี้คงไม่เป็นไร เมื่อทำอย่างอื่นเสร็จแล้วจึงค่อยทำงาน
A = มีความสำคัญมากต้องทำก่อน
กลยุทธการบริหารเวลา
ผู้บริหารที่ไม่มีเวลา เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาการท างานส่วนใหญ่เกี่ยวกับการประชุม
ผู้บริหารที่มีเวลา เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการวางแผนการประชุม เพื่อให้การประชุมเกิด
ประสิทธิภาพมากที่สุด รองลงมาคือการใช้โทรศัพท์ติดต่องาน การวางแผนมอบหมายงานให้ผู้อื่นปฏิบัติ การแก้ปัญหา
เทคนิคการบริหารการใช้เวลาที่มีประสิทธิภาพ
๒. วิเคราะห์สาเหตุของการรบกวนเวลาหรือการสูญเสียเวลาไปโดยไม่จำเป็นจากข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ในแต่ละวัน
เพื่อหาข้อบกพร่องและสาเหตุที่ทำให้เกิดการสูญเสียเวลาโดยไม่จำเป็น
๓. ปรับปรุงข้อบกพร่องหรือสาเหตุที่ทำให้เสียเวลาตามที่วิเคราะห์ได้
๑. จดบันทึกการใช้เวลาประจำวันไว้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์หาสาเหตุของการสูญเสียเวลา
การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง (Conflict) คือ สภาพการณ์ที่คนหรือกลุ่มคนเกิดความไม่เข้าใจกัน มีความรู้สึกไม่พึงพอใจ หรือคับข้องใจที่จะปฏิบัติงาน
ประเภทของความขัดแย้ง
๒. ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict)
๓. ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict)
๑. ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict)
สาเหตุของความขัดแย้ง
๓. เป้าหมายการทำงาน เปูาหมายในการทำงานขององค์การกับเป้าหมายการทำงานของบุคคล หรือกลุ่มบุคคล
๔. อำนาจ อำนาจในที่นี้หมายถึงอำนาจตามตำแหน่ง (Authority) และอำนาจบารมี (Power)
๒. บทบาทไม่ชัดเจน ซึ่งบางครั้งผู้ปฏิบัติงานอาจเกิดความไม่แน่ใจว่าเขามีหน้าที่ต้องทำอะไรบ้าง
๕. การเปลี่ยนแปลง การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to change) เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์
๑. ผลประโยชน์ ผลประโยชน์มักจะเป็นสาเหตุของความขัดแย้งที่พบมากที่สุด
การบริหารความขัดแย้ง
๒. การประนีประนอม (Compromise) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยที่ต่างฝุายต่างได้เพียงบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น
๓. การประสานประโยชน์ (Integrated Solution) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่เน้นความพอใจของ
ทั้งสองฝุายมากที่สุด เป็นการแก้ปัญหาที่ไม่มีการแพ้–ชนะ
๑. การชนะ–แพ้ (Domination) การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีการที่ฝุายหนึ่งเป็นผู้ชนะอีกฝุายหนึ่งเป็นการใช้อำนาจในการแก้ปัญหา
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคคล โดยผู้บังคับบัญชาถ่ายโอนอำนาจ ให้อิสระในการตัดสินใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมถึงการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
ความสำคัญของการเสริมสร้างพลังอำนาจ
การเสริมสร้างพลังอำนาจเป็นการแบ่งปันอำนาจระหว่างผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชา โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกคนมีความสามารถที่จะไปถึงเปูาหมายของงานหรือขององค์กร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
๓. ผู้บริหารองค์กร
๔. บุคลากร
๒. วัฒนธรรมองค์กร
๕. ความไว้วางใจในองค์กร
๑. ระบบโครงสร้างองค์กร
๖. ลักษณะงาน
๗. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง