Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of position ความผิดปกติของท่าทางการคลอด, นางสาวสุพัตรา ขุนหีบ…
Abnormality of position ความผิดปกติของท่าทางการคลอด
ท่าทางของผู้คลอดมีผลต่อแรงกดของช่องเชิงกราน การหมุนภายใน การเคลือนต า แรงเบ่งคลอด และการหดรัดตัวของมดลูก
ท่าทางการคลอดทีดีควรเปนท่าทีช่วยให้ส่วนนําเคลือนต าไ ด้ดื มดลูกหดรัดตัวดี รู้สึกสุขสบาย ไม่มีผลกระทบต่อทารก และผู้คลอดออกแรงเบ่งได้ดี การเปลียนท่าบ่อยๆ จะบรรเทาอาการเหนือยล้า เพิมความสุขสบายและเพิมการไหลเวียนเลือด ช่วยให้การหดรัดตัวของมดลูกมีประสิทธิภาพ การเปดขยายของปากมดลูกเร็วขึน ทารกเคลือนลงสู่ช่องทางคลอดได้ง่ายและสะดวก ระยะเวลาการคลอดสันลง ผู้คลอดและทารกปลอดภัย
ท่าทีดีทีใช้เพือคลอด
ยกศีรษะและลําตัวสูง 30 องศา หรือ 45 องศา หรือ 60 องศา ท่าศีรษะและลําตัวสูง อยู่แนวเดียวกันกับแรงโน้มถ่วงของโลก (upright position) เช่น ท่านังยองๆ (squating positlon) ท่าคุกเข่า การนังคุกเข่า โนัมตัวไปข้างหน้าซบกับหมอนท่าPSU cat เปนตัน
การจัดท่า
1 ยกศีรษะและลําตัวผู้คลอดให้สูงจากแนวราบอย่างน้อย 30 องศา โดยการไขหัวเตียงท่อนบนหรือใช้หมอนใบใหญ่รองใต้หลัง
2 ขนาดเบ่งคลอดให้ผู้คลอดกับเหล็กข้างเตียงหรือเครืองยึดเ หนียวข้างเตียงหรือสอดมือเข้าไปจับต้นขาแล้วดึงเข้าหาลํา ตัวพร้อมโน้มศีรษะไปด้านหน้า ลําตัวโค้งเปนรูปตัวซี ก้มคางชิดอกแล้วเบ่งลงก้น
ข้อห้าม : ห้ามใช้ในรายทีได้รับยาชาทางช่องไขสันหลัง
ข้อดีของท่าคลอดแบบยกศีรษะและลําตัวสูง
ด้านแรงผลักดันทารก
1 ผู้กองสามารถสูบลมหายใจเข้าออกได้สะดวกเนืองจากมด ลูกไม่กดดันกระบังลมไว้
2 มดลูกหดรัดตัวแรงและมีประสิทธิภาพมากขึน
3 มีแรงโน้มถ่วงของโลกช่วยผลักดันทารกให้เคลือนต าได้ดีขึ น
ด้านช่องทางคลอด
1 หมดลูกจะเคลือนมาอยู่ด้านหน้าทําให้ช่องทางคลอดอยู่ใน แนวตรงมากขึนทารกขันต าและคลอดออกมาได้ง่ายขึน
2 ช่วยเพิมขนาดช่องเชิงกรานให้มีเส้นผ่าศูนย์กลางเพิมขึน ส่วนนําของทารกเคลือนลงไปกดกล้ามเนืออุ้งเชิงกรานให้ห ลังออกซิโตซินทําให้กล้ามเนือมดลูกหดรัด ตัวแรงขึน มีกําลังขับเคลือนทารกเพิมขึน
ท่าทีใช้ในการคลอดมานาน คือ นอนหงาย ชันเข่า (dorsal position) นอนหงายขาพาดบนขาหยัง (litholomy position) ซึงสะดวกในการฟงเสียงหัวโจหารกในครรภ์ การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก การทําคลอด หรือการทําสูติศาสตร์หัตถการ
แต่พบว่าท่าดังกล่าวมีผลต่อผู้คลอดและทารก ทังความไม่สุขสบาย การคลอคล่าช้า ทารกเกิดภาวะเครียดจากการคลอดยาวนาน ท่าทางของผู้คลอดเปนปจจัยสําคัญทีมีผลต่อระดับความดันโลหิต
โดยเฉพาะท่านอนหงายราบจะทําให้นาหนักของมดลูกและทารกกดทั บลงบนหลอดเลือดดําใหญ่และหลอดเลือดแดงใหญ่ ทําให้การไหลเวียนกลับของเลือลดลงการนอนหงายนานๆ จะทําให้การไหลเวียนโลหิตลดลง เกิดกลุ่มอาการความดันโลหิตต าจากการนอนหงายราบ (supine hypotensive syndrome)
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะที1 ของการคลอด
1 ไม่จํากัดท่าทางและกิจกรรมของผู้คลอด
สนับสนุนให้ผู้คลอดอยู่ในท่า upright position จัดหาอุปกรณ์ให้นอนและเปลียนอิริยาบถบ่อยๆ
เลือดไหลเวียนได้ดี ส่งเสริมให้ส่วนนําของทารกเคลือนตาดีขึน
อธิบายเหตุผลของการจัดท่าทางให้ผู้คลอดเข้าใจ
ระยะที2 ของการคลอด
จัดท่าทางการคลอดแบบศีรษะและลําตัวสูงเพือเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
สนับสนุน ช่วยเหลือ และให้กําลังใจในการจัดท่าทางทีถูกต้อง
นางสาวสุพัตรา ขุนหีบ เลขที่67 รหัส601401070