Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจำ เชาวน์ปัญญา - Coggle Diagram
การจำ เชาวน์ปัญญา
ความจำ (Memory)
เป็นความสามารถของบุคคลในการเก็บข้อมูล สิ่งที่เรียนรู้ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ เอาไว้
working Memory
การที่ความจาระยะสั้นทางานร่วมกับกระบวนการทางจิตใจหรือกระบวนการรู้คิดอื่น ๆ
Long-Therm Memmory
เป็นความจำที่ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างมากไม่มีเขตจำกัด
ความจำที่เกิดจากการทำหรือปฎิบัติ(Procedural Memory)
ความจำที่อธิบายได้ (Declarative Memory)
Shot-Therm Memory
เป็นความจำที่เก็บข้อมูลได้ชั่วคราวและมีขนาดจำกัด
ระบบความจำ (Memory System)
Wannington
Explicit memory
ความจำที่ผู้จำรู้ตัวมีสติหรือตระหนักรู้ในขณะที่รำลึกถึงเหตุการณ์ที่เคยเรียนรู้หรือประสบการณ์ที่ผ่านมา
Sematic Memory
Episodic Memory
Implicit memory
ความจำที่ผู้จำไม่รู้ตัวหรือตระหนักรู้ว่าจำได้
ความสามารถที่จะทำงานหรือแสดงออกด้วยการกระทำ
ความสามารถที่จะจำได้ถ้าได้รับการเอื้อ
ความสามารถที่จะจำได้
เชาวน์ปัญญา
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญานีโอพีอาเจต์
เคส (Case)
Representational Operation (2-5 ปี)
Logical Operations (5-10 ปี)
Sensorimotor (4-20 เดือน
Formal Operations (11-18 ปี)
เป็นความสามารถอย่างหนึ่งของบุคคล ที่ทำให้บุคคลนั้นสามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญาประสาทวิทยา-จิตวิทยา
การ์ดเนอร์
เชาวน์ปัญญาเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ เปลี่ยนแปลง พัฒนาได้
ทฤษฎีเชาวน์ปัญญาจิตมิติ
ทฤษฎีนี้มีหลักการพื้นฐานว่า เชาวน์ปัญญาจะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ชาร์ลส์ สเปียร์แมน
ทฤษฎีองค์ประกอบเดี่ยว (Single -Factor Theory)
ทฤษฎีองค์ประกอบสองตัว (Two -Factor Theory)
องค์ประกอบทั่วไป ( General factor หรือ g )
องค์ประกอบเฉพาะ (Specific factor หรือ s)
ทฤษฎีองค์ประกอบหลายตัว (Multiple Factor Theory)
การลืม(Forgetting)
ทฤษฎีการเสื่อมหรือการเลือนหาย (Decay Theory)
ทฤษฎีการลืมเพราะต้องการที่จะลืม
(Motivatived Forgetting Theory)
ฟรอยด์
ทฤษฎีการรบกวน (Interference Theory)
ล้มเหลวในการคืนค้น(Retrieval Failure Theory)